Page 68 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 68

บทที่ ๒ ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐




                     (๑) คณะรัฐมนตรี คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และรัฐสภา ควรแก้ไขพระราชบัญญัติการเดินเรือใน
            น่านน�้าไทย (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อขยายเวลาการแจ้งการฝ่าฝืน ตามมาตรา ๑๘ ออกไปอีกไม่น้อยกว่า ๑ ปีนับแต่วันที่
            พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน�้าไทย (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๖๐ ใช้บังคับ หรือจนกว่าจะมีการแก้ไข กฎกระทรวง
            ตามมาตรา ๑๗ เสร็จสิ้น



                     (๒) กระทรวงคมนาคม ควรด�าเนินการแก้ไขกฎกระทรวง โดยก�าหนดให้ “อาคารและบ้านเรือน ศาลาริมน�้า
            สะพานทางเดินลงน�้า” เป็นอาคารที่มีลักษณะและประเภทของสิ่งล่วงล�้าล�าน�้าที่พึงอนุญาต ทั้งนี้ โดยกระบวนการ   บทที่ ๒
            มีส่วนร่วมของประชาชน



                     (๓) คณะรัฐมนตรีควรพิจารณามอบหมายให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ประเมินผลกระทบจากการบังคับ
            ใช้พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน�้าไทย (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
            ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยน�าหลักการประเมินหรือวิเคราะห์ผลกระทบในการออกกฎหมาย (RIA) มาเป็น

            เครื่องมือในการประเมินหรือวิเคราะห์


                     (๔) กระทรวงคมนาคมควรพิจารณาปรับปรุงแก้ไข กฎหมายเกี่ยวกับเดินเรือในน่านน�้าไทย ให้สอดคล้องกับวิถี
            ชีวิตของชุมชนชายฝั่งและชุมชนริมน�้า เนื่องจากชุมชนดังกล่าวมิใช่สิ่งล่วงล�้าล�าน�้า แต่เป็นวิถีชีวิตของชุมชน อันได้รับ

            การรับรองตามรัฐธรรมนูญ โดยต้องพิจารณาก�าหนดนิยามของชุมชนชายฝั่งและชุมชนริมน�้าแยกออกจากสิ่งล่วงล�้าล�าน�้า
            เพื่อให้เกิดความชัดเจนและจ�าแนกประเภทชุมชนดั้งเดิมออกจากการบุกรุกใหม่ รวมทั้งควรก�าหนดให้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับ
            ชุมชนชายฝั่งและชุมชนริมน�้าไว้เป็นการเฉพาะ


                     ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน



                                                                         เมื่อวันที่  ๔  กรกฎาคม  ๒๕๖๐  หัวหน้า
                                                                คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้มีค�าสั่งที่ ๓๒/๒๕๖๐

                                                                เรื่อง การบรรเทาความเสียหายให้แก่ประชาชนในกรณี
                                                                ปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งอื่นใดล่วงล�้าล�าแม่น�้า โดยสาระ
                                                                ส�าคัญ คือ การขยายระยะเวลาให้ประชาชนมาแจ้ง
                                                                ครอบครองสิ่งล่วงล�้าล�าน�้า ภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่

                                                                ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๐ จากนั้นเจ้าหน้าที่จะพิจารณาและ
                                                                มีค�าสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาต ภายใน ๑๘๐ วันนับแต่
                                                                วันที่ได้รับเอกสารหลักฐานครบถ้วน โดยผู้ที่แจ้งภายใน
                                                                ระยะเวลาดังกล่าวจะได้รับยกเว้นโทษทางอาญาและโทษ

                                                                ปรับทางปกครองส�าหรับความผิดที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ ๒๓
                                                                 กันยายน ๒๕๖๐














                                                                               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 67
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73