Page 144 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 144

บทที่ ๒ ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐




                     ผลส�าเร็จของการเข้าร่วมประชุม


                     กสม. ได้มีโอกาสรับทราบพัฒนาการใหม่ ๆ โดยเฉพาะการแก้ไขธรรมนูญ (Statute) ของ GANHRI และ Rules
            of Procedure ของคณะอนุกรรมการประเมินสถานะ (Sub-Committee on accreditation – SCA) ของ GANHRI ที่

            เกี่ยวข้องกับกระบวนการประเมิน/ทบทวนสถานะของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทุกประเทศรวมทั้ง กสม. ของไทย
            ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของ กสม. ในการด�าเนินการเพื่อกลับคืนสู่สถานะ A อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจ�าเป็นต้องท�าความ
            เข้าใจในกระบวนการและขั้นตอนต่าง ๆ ที่จะเข้ารับการทบทวนสถานะอย่างถูกต้องแม่นย�า เพื่อประโยชน์ในการจัดท�า  บทที่ ๒
            ข้อมูล ค�าชี้แจง และการจัดท�าเอกสารที่สอดคล้องกับกระบวนการทบทวนสถานะตามที่ปรากฏในเอกสารทั้ง ๒ ฉบับ

            ดังกล่าว


                     ๕.๑.๒   ความร่วมมือในระดับภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิกภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบัน
            สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก (APF)การเข้าร่วมประชุมประจ�าปีของ APF ครั้งที่ ๒๑
            ระหว่างวันที่ ๒๖ - ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๙ ที่กรุงเทพมหานคร



                     (๑)  การประชุม APF – NGO Dialogue เป็นการหารือระหว่างสมาชิก APF กับเครือข่าย NGO ในภูมิภาค
            เอเชียที่ติดตามการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ซึ่งมีชื่อว่า Asian NGO Network on National

            Human Rights Institutions หรือ ANNI ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�าทุกครั้งก่อนเริ่มการประชุมประจ�าปีของ APF เพื่อสะท้อน
            มุมมองของเครือข่าย NGO ต่อการด�าเนินงานของ APF รวมทั้งเพื่อแสวงหาแนวทางความร่วมมือระหว่างกันในการส่งเสริม
            และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคต่อไป



                     (๒)  การปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (The Work of National Human Rights
            Institutions) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้แทนของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่เข้าร่วมประชุมได้น�าเสนอผลการด�าเนินการที่
            ส�าคัญในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ โดยได้ใช้โอกาสนี้แนะน�าตัว ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน
            แห่งชาติ ชุดที่สาม ในฐานะที่เข้าร่วมประชุมประจ�าปีของ APF เป็นครั้งแรก รวมทั้งได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบเกี่ยวกับการ

            ด�าเนินงานที่ส�าคัญของ กสม. ในรอบปี ๒๕๕๙ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดท�าร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
            ซึ่งผ่านการลงประชามติเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ ซึ่งมีการก�าหนดอ�านาจหน้าที่ของ กสม. ในฐานะที่เป็นองค์กรอิสระ
            ตามรัฐธรรมนูญและการมีข้อเสนอไปยังคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
            คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ



                     (๓)  รายงานเรื่องโทษประหารชีวิต (Death Penalty Report) ฉบับปรับปรุงของ APF
                            APF ได้จัดท�ารายงานเรื่องโทษประหารชีวิตฉบับใหม่เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิงแทนรายงานของ Advisory
            Council of Jurists (ACJ) ซึ่งจัดท�ามาตั้งแต่ปี ๒๕๔๓ โดยในการจัดท�ารายงานฉบับใหม่นี้ APF ได้รับความร่วมมือเป็น

            อย่างดีจาก Ms. Delphine Lourtau ผู้เชี่ยวชาญจาก Cornell Center on the Death Penalty Worldwide และหน่วย
            งานต่าง ๆ ของสหประชาชาติ ทั้งนี้ ข้อมูลที่ใช้ประกอบการจัดท�ารายงานเป็นข้อมูลล่าสุดจนถึงเดือนกันยายน ๒๕๕๙


                            สาระส�าคัญของรายงานฉบับนี้ได้กล่าวถึงแนวโน้มของการยกเลิกโทษประหารชีวิตจนถึงปัจจุบัน

            (กันยายน ๒๕๕๙) ซึ่งมีประเทศที่ยกเลิกโทษดังกล่าวในทุกฐานความผิดไปแล้วทั้งสิ้น ๑๐๒ ประเทศ ในจ�านวนนี้อยู่ในภูมิภาค
            เอเชียแปซิฟิก ๑๙ ประเทศ และที่ยังคงไว้ซึ่งโทษดังกล่าวจ�านวน ๒๒ ประเทศ ส�าหรับประเทศสมาชิก APF ที่ได้ยกเลิก
            โทษประหารชีวิตแล้วมีอยู่ ๗ ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย มองโกเลีย เนปาล นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ ซามัว และติมอร์เลสเต้



                                                                               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 143
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149