Page 138 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 138

บทที่ ๒ ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐




                     ๓. ความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาลในต่างประเทศ : จากการศึกษา
            บทต่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มประเทศที่ใช้กฎหมายจารีตประเพณีและ
            กลุ่มประเทศที่ใช้กฎหมายลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สหราชอาณาจักร อินเดีย
            สหรัฐอเมริกา สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและสาธารณรัฐฝรั่งเศส พบว่า

            ทุกประเทศมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดอ�านาจศาล หากแต่มี
            รายละเอียดแตกต่างกันออกไป เช่น ขอบเขตการใช้อ�านาจของศาลในการ
            ตีความ “การละเมิดอ�านาจศาล” หรืออัตราโทษ อย่างไรก็ดีประเทศเหล่านี้                                      บทที่ ๒
            มีจุดร่วมกันในเรื่องการคุ้มครองบุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่าละเมิดอ�านาจศาลภาย

            ใต้หลักกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรือความพยายามสร้างความสมดุล
            ระหว่างเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและขอบเขตการละเมิดอ�านาจศาล
                     ๔. ความชอบด้วยกฎหมายอาญาของความผิดฐานละเมิดอ�านาจ
            ศาล : กฎหมายต้องมีความชัดเจน โดยเฉพาะกฎหมายที่มีบทบัญญัติในการ

            ลงโทษผู้กระท�าความผิด ความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาลได้ก�าหนดอัตราโทษ
            ปรับและโทษจ�าคุกไว้ แต่แนวทางปฏิบัติที่ผ่านมาพบว่าบทบัญญัติที่ก�าหนด
            ให้การกระท�าใดบ้างที่เป็นการละเมิดอ�านาจศาลยังไม่มีความชัดเจน เนื่องจาก
            ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งก�าหนดให้ศาลมีอ�านาจ “ออกข้อก�าหนดใด ๆ” ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและ

            ไม่ชัดเจนของรายละเอียดลักษณะความผิดฐานในการละเมิดอ�านาจศาล นอกจากนี้ข้อก�าหนดของศาลดังกล่าวยังเป็น
            อุปสรรคต่อประชาชนทั่วไปในการเข้าถึงรายละเอียด เนื่องจากไม่ได้มีการเผยแพร่เป็นการทั่วไป
                     ๕. ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา: การพิจารณาว่าความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาลของประเทศไทย
            ไม่ใช่โทษทางอาญา ตามความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ ๔๔๔/๒๕๒๘ ก่อให้เกิดปัญหาตามมาหลายประการ ซึ่ง

            ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องต่อประเด็นความสอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนภายใต้กติการะหว่างประเทศ โดยศาลสิทธิมนุษยชน
            ยุโรป (European Court of Human Rights) วางหลักว่า ไม่ว่าโทษจะมีชื่อเรียกว่าอย่างไร แต่หากมีโทษจ�าคุกเกี่ยวข้อง
            การรับรองสิทธิของบุคคลตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญาต้องเกิดขึ้น ค�าตัดสินดังกล่าวมีขึ้นเพื่อป้องกันมิให้รัฐสมาชิก
            หลีกเลี่ยงการให้หลักประกันเรื่องสิทธิของผู้ต้องหาหรือจ�าเลยในคดีอาญาโดยการบัญญัติฐานความผิดลงในกฎหมายอื่น

            นอกเหนือจากกฎหมายอาญา


                     อนึ่ง เมื่อความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาลของประเทศไทยไม่ใช่โทษทางอาญา ยังก่อให้เกิดปัญหาตามมาใน
            ประเด็นดังต่อไปนี้

                        ๕.๑ หลักการไม่พิจารณาลงโทษสองครั้ง (Non bis in idem) หลักการไม่พิจารณาลงโทษสองครั้งหรือหลัก
            บุคคลย่อมไม่ถูกลงโทษซ�้าในความผิดซึ่งบุคคลนั้นต้องค�าพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษตามกฎหมายและวิธีพิจารณาความ
            อาญานี้ แม้ประเทศไทยจะรับรองหลักการดังกล่าวในการกระท�าความผิดทางอาญา แต่กลับมิได้รวมถึงกรณีความผิด
            ฐานละเมิดอ�านาจศาลด้วย ดังนั้นหากผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระท�าความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาลและมีความผิดฐานอาญา

            ร่วมด้วยเป็นกรรมเดียวกัน แนวทางที่ผ่านมากลับตีความว่าความซ�้าซ้อนดังกล่าวเป็นคนละกรรม ส่งผลให้ผู้ถูกกล่าวหา
            ต้องรับโทษในการกระท�ากรรมเดียว แต่รับโทษสองครั้ง
                        ๕.๒ สิทธิในการต่อสู้คดีของผู้ถูกกล่าวหาในความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาล เมื่อความผิดฐานละเมิดอ�านาจ
            ศาลไม่ใช่ความผิดที่มีโทษทางอาญาแล้ว สิทธิในการต่อสู้คดีของผู้ถูกกล่าวหาย่อมไม่ได้รับการคุ้มครองภายใต้การกระบวน

            ยุติธรรมทางอาญา ปัญหาที่เกิดขึ้นในการพิจารณาคดีความผิดฐานละเมิดอ�านาจศาลในประเทศไทย ได้แก่
                             (๑) การพิจารณาคดีโดยศาลที่เป็นกลาง หลักการนี้มุ่งหมายให้ศาลที่พิจารณาคดีต้องไม่ตัดสินภายใต้
            อคติหรือจากความเสียหายส่วนตัว ซึ่งเมื่อกลับมาดูกระบวนการพิจารณาคดีเรื่องละเมิดอ�านาจศาลแล้ว พบว่าประมวล



                                                                               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 137
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143