Page 136 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 136

บทที่ ๒ ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐




                     กลยุทธ์ที่ ๑๒ :  การผลักดันกลไกการไกล่เกลี่ยนอกศาลในกระบวนการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อให้ผู้เสียหายได้เข้าถึง
            ความเป็นธรรมอย่างรวดเร็ว ไม่แพง และเป็นที่พอใจ แต่มิได้ตัดสิทธิในการที่จะไปฟ้องร้องในกระบวนการยุติธรรม
                     กลยุทธ์ที่ ๑๓ : การร่วมมือกับองค์กร หรือสถาบันตรวจสอบที่ได้รับการยอมรับในสังคมเพื่อสนับสนุนกลไก
            เกี่ยวกับปัญหาการประกอบธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมถึงการให้แรงจูงใจที่เหมาะสม

                     กลยุทธ์ที่ ๑๔ : การสร้างความตระหนักรู้แก่กลุ่มที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิด และสาธารณชนทั่วไป
                     กลยุทธ์ที่ ๑๕ : การถอดบทเรียนและจัดท�ากรณีศึกษาเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อเท็จจริง
                     กลยุทธ์ที่ ๑๖ : การสนับสนุนกลไกการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (เช่น การให้ค�าปรึกษากับผู้ร้องทุกข์เพื่อให้   บทที่ ๒
            เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม กลไกการเยียวยา รวมทั้งการปรับปรุงกลไกการปกป้องผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน)

                     กลยุทธ์ที่ ๑๗ : การขยายช่องทางการติดต่อเพื่อให้เกิดการเข้าถึง กสม. ได้สะดวกมากขึ้น
                     กลยุทธ์ที่ ๑๘ : การพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ  เพื่อแก้ไขปัญหาด้วย
            ความเป็นกลาง มุ่งเสนอจุดยืนบนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด ซึ่งแบ่งได้ดังนี้



                                  (๑) กสม. ควรปลูกฝังให้ความรู้กับผู้น�าชุมชน ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน และ
            การร่วมเสริมสร้างศักยภาพกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิให้กับภาคีเครือข่าย
                                  (๒) กสม. ควรพัฒนาเครื่องมือในการสื่อสารความรู้และร่วมมือกับสื่อในการให้ความรู้ทางด้าน
            ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมทั้งสนับสนุนบทบาทของสื่อในการตรวจสอบเชิงลึก

                                  (๓) กสม. ควรสนับสนุนในด้านฐานข้อมูลเพื่อน�าไปสู่การท�าวิจัยและพัฒนาร่วมกับภาควิชาการ
            อาทิ การแปลคู่มือมาตรฐานต่าง ๆ การวิเคราะห์วิจัยเชิงลึก
                                  (๔) กสม. ควรร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ มาตรฐานสากล บทเรียน แนวทางการปฏิบัติที่ดี
            รวมไปถึงการท�าวิจัยและพัฒนาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานต่างประเทศ



                     กลยุทธ์ที่ ๑๙ : การผลักดันแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้น�าไปใช้เพื่อสนับสนุนการด�าเนินการด้านสิทธิมนุษยชน
            และการประกอบธุรกิจ โดย กสม. ควรที่จะปรับสมดุลภาพลักษณ์ขององค์กรให้ท�างานในเชิงส่งเสริมมากยิ่งขึ้น
                     กลยุทธ์ที่ ๒๐ : การท�าความเข้าใจภายในองค์กรให้เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับนิยาม และขอบเขตอ�านาจของ กสม.

            เพื่อก�าหนดแนวทางการปฏิบัติว่าด้วยการคุ้มครอง และการเยียวยาการละเมิดสิทธิมนุษยชนให้มีประสิทธิภาพ
                     กลยุทธ์ที่ ๒๑ : การเพิ่มกลุ่มงานด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนโดยมีเจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญและ
            ประสบการณ์ในด้านสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจซึ่งมาจากหลากหลายสาขา เนื่องจากประเด็นสิทธิมนุษยชน
            เกี่ยวข้องกับมิติที่หลากหลาย

                     กลยุทธ์ที่ ๒๒ : การจัดท�าคู่มือด้านสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจให้กับเจ้าหน้าที่
                     กลยุทธ์ที่ ๒๓ : พัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการบุคลากรขององค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
                     กลยุทธ์ที่ ๒๔ : กสม. ควรจะส่งเสริมให้มีคลังข้อมูลที่รวบรวมหลักปฏิบัติที่เป็นเลิศ โดยมีทั้งข้อมูลเชิงนโยบาย
            กฏหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน กรณีศึกษาของบริษัทต่าง ๆ การด�าเนินการตามนโยบาย การสื่อสาร

            กับสาธารณะ การบริหารความสัมพันธ์ภายในห่วงโซ่อุปทานการผลิต การจ�าแนกและประเมินความเสี่ยงด้านธุรกิจและ
            สิทธิมนุษยชน การจัดท�าระบบการตรวจสอบ (auditing system) และการออกรายงานประจ�าปี นอกจากนี้ กสม. ควร
            ที่จะส่งเสริมให้ภาคเอกชนจัดท�าดัชนีการชี้วัดความส�าเร็จของงาน (KPI) ของตนเองขึ้น
                     กลยุทธ์ที่ ๒๕ : การพัฒนากลไกการบริหารที่ต้องมีการติดตาม การประสานงานกับผู้ร้องเรียนถึงสถานะการ

            ด�าเนินการการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนอย่างเหมาะสม และการประเมินผลการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ฯ ทั้งจากภายใน
            และภายนอกเพื่อที่จะเป็นประโยชน์ในการขับเคลื่อนแผนที่เป็นรูปธรรมต่อไป เช่น การจัดท�ารายงานประจ�าปีที่มีการสรุป
            การด�าเนินงานในประเด็นของธุรกิจและสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจน เป็นต้น



                                                                               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 135
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141