Page 203 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 203

สถานการณ์
                 พื้นที่
                                            ปี ๒๕๕๙                                 ปี ๒๕๖๐

           เขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่ต�าบลส�านักขาม                    หน่วยงานของรัฐได้ฟ้องคดีต่อราษฎรเพื่อให้ออกจาก
           จังหวัดสงขลา     • การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ส่งผลกระทบต่อ ที่ดินทั้งหมด
                              ราษฎรจ�านวนประมาณ ๓๐๐ ครอบครัว ซึ่งเดิม
                              เป็นผู้เช่าที่ดินจากส�านักงานป้องกันการฟอกเงิน
                              (ปปง.) มากว่า ๑๐ ปี
                            • ราษฎรจ�านวนประมาณ ๑๖๐ ครอบครัว ยื่น
                              หนังสือขอความเป็นธรรมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


                ๒.๔ ผลกระทบจากโครงการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน
                     ๑) โครงการโรงไฟฟ้าขยะ/สายส่งไฟฟ้า/โรงไฟฟ้าชีวมวล/โรงไฟฟ้าขยะ/โรงไฟฟ้าถ่านหิน/โรงไฟฟ้าพลังน�้า
                       นอกจากกรณีการคัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่และโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาแล้ว การประกอบกิจการโรงไฟฟ้า

           ชีวมวลและโรงไฟฟ้าขยะก็ยังคงเป็นประเด็นข้อพิพาทส�าคัญ เนื่องจากในช่วงปีที่ผ่านมารัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริม
           พลังงานหมุนเวียน  โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าขยะ  โดยใน
           ปี ๒๕๕๘ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
           ออกประกาศกระทรวงฯ ยกเว้นการจัดท�าอีไอเอ ในโรงงาน

           พลังงานความร้อนที่ใช้ขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิงทุกขนาด
           ก่อนที่จะมีค�าสั่งหัวหน้า คสช. ยกเว้นการบังคับใช้ผังเมือง
           รวมใน ๕ กิจการ โดย ๒ ใน ๕ คือ โรงไฟฟ้าและโรงเผาขยะ
           อย่างไรก็ตาม โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้ายังคงถูกคัดค้าน

           ในหลายชุมชน โดยในปี ๒๕๖๐ มีผู้ยื่นเรื่องร้องเรียนต่อ
           คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจ�านวนทั้งสิ้น ๕ ค�าร้อง


                     ๒) การก่อสร้างทางหลวงพิเศษ

                       โครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายบางปะอิน - นครราชสีมา และสายบางใหญ่ - กาญจนบุรี หรือ
           มอเตอร์เวย์ทั้ง ๒ เส้นทางเป็นโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบต่อประชาชนทั้งในคุณภาพสิ่งแวดล้อม
           คุณภาพชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียมีสิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่าวสาร และมีส่วนร่วมแสดง
           ความคิดเห็นต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อน�าไปประกอบการพิจารณาในเรื่องดังกล่าว โดยหน่วยงานรัฐย่อมต้องมีหน้าที่

           จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง จากการตรวจสอบข้อเท็จจริงของ กสม.  พบว่า รายงาน
                                                                                             ๓๙๐




















           ๓๙๐  รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๘๑๕-๘๑๘/๒๕๖๐ และ ๘๑๙/๒๕๖๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.


           202 |  รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208