Page 196 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 196

บทที่ ๖ การประเมินสถานการณ์ด้าน
                                                                                             สิทธิมนุษยชนใน ๕ ประเด็นร่วม



                  อย่างไรก็ดี ยังคงมีข้อท้าทายที่รัฐควรพิจารณาปรับปรุงแก้ไขเพื่อเป็นการป้องกันและลดปัญหาผลกระทบจากการ
            ด�าเนินธุรกิจ ดังต่อไปนี้
                  ๑. แม้รัฐบาลจะมีความก้าวหน้าในการด�าเนินการเพื่อคุ้มครองสิทธิของแรงงานซึ่งเป็นผลจากกรณีปัญหาแรงงาน
            ข้ามชาติและค้ามนุษย์ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผลประโยชน์ทางการค้าและการลงทุนอย่างรุนแรง แต่การด�าเนินการเพื่อ

            ป้องกันหรือแก้ไขผลกระทบด้านอื่น ๆ จากการด�าเนินธุรกิจ อาทิ เรื่องชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สุขภาพ
            ยังไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน
                  ๒. รัฐยังไม่มีความก้าวหน้าในการก�าหนดมาตรการที่เป็นรูปธรรมในการก�ากับดูแลการลงทุนในต่างประเทศของ
            ผู้ลงทุนสัญชาติไทยให้เคารพต่อหลักการพื้นฐานด้านสิทธิมนุษยชน โดยพบว่า จากกรณีรายงานผลการพิจารณาค�าร้อง

            ของ กสม. ทั้งกรณีการด�าเนินโครงการท่าเรือน�้าลึกและเขตเศรษฐกิจทวาย ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาของบริษัท
            อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ากัด (มหาชน) และกรณีการด�าเนินงานของบริษัท น�้าตาลมิตรผล จ�ากัด คณะรัฐมนตรี
            ไม่ได้มีการสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด�าเนินการตามข้อเสนอแต่อย่างใด แต่เป็นเพียงการรับทราบสรุปผลการพิจารณา
            ด�าเนินการของกระทรวงการต่างประเทศเท่านั้น

























                  ๓. ยังมีช่องว่างในการด�าเนินการของรัฐตามหลักการ UNGPs โดยหลายกรณีที่โครงการขนาดใหญ่ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ

            รวมถึงโครงการของภาคเอกชนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐ ได้สร้างผลกระทบทางลบด้านสิทธิมนุษยชนต่อบุคคลและ
            ชุมชนในพื้นที่ตั้งโครงการ หน่วยงานรัฐยังไม่มีการน�ากระบวนการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (human rights
            due diligence : HRDD) ไปใช้ รวมถึงในกรณีของการเยียวยา (remedy) พบว่า การเยียวยามักเป็นผลจากการด�าเนิน
            การตามกระบวนการทางศาล และมักมีรูปแบบของการเยียวยาในลักษณะของตัวเงิน อีกทั้งยังไม่มีกลไกการเยียวยาอื่น ๆ

            นอกเหนือจากกระบวนการทางศาลที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมที่จะท�าให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบสามารถเข้าถึงการแก้ไข เยียวยา
            ฟื้นฟูได้อย่างมีประสิทธิผล


            ข้อเสนอแนะ
                                                                                                                  บทที่
                                                                                                                   ๖
                  ๑. รัฐควรให้ความส�าคัญและเพิ่มมาตรการ/นโยบายต่าง ๆ เพื่อแก้ไขและป้องกันผลกระทบด้านลบจากการด�าเนิน
            ธุรกิจในมิติอื่น นอกเหนือจากมิติด้านสิทธิแรงงาน โดยเฉพาะผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิทธิชุมชน
                  ๒. รัฐควรก�าหนดกลไกในการก�ากับดูแลการลงทุนในต่างประเทศของผู้ลงทุนสัญชาติไทย ให้เคารพต่อหลักการพื้นฐาน

            ด้านสิทธิมนุษยชน โดยอาจพิจารณาน�าข้อเสนอจากกรณีการด�าเนินโครงการท่าเรือน�้าลึกและเขตเศรษฐกิจทวาย
            ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาของบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ากัด (มหาชน) และกรณีการด�าเนินงานของบริษัท
            น�้าตาลมิตรผล จ�ากัด ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่อ�าเภอส�าโรง (Samrong) และจงกัล (Chongkal) ในจังหวัดโอดอร์



                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 195
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201