Page 144 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 144

บทที่ ๕ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
                                                                                 ของบุคคล ๖ กลุ่ม



            ซึ่งเป็นบุคคลหลากหลายทางเพศที่ได้รับการผ่าตัดแปลงเพศท�าให้มีสรีระร่างกายเป็นหญิง ถูกควบคุมตัวท�าให้ต้องใช้ชีวิต
            และท�ากิจกรรมร่วมกับผู้ต้องขังชายภายในเรือนจ�า ท�าให้รู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและร่างกาย
                  ในส่วนของการอนุญาตให้บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศใช้ค�าหน้าชื่อให้ตรงกับเพศสภาพ ณ ปัจจุบัน พบว่า
            กรณีของบุคคลที่มีลักษณะเพศทางชีววิทยาไม่ชัดเจน สามารถเปลี่ยนค�าน�าหน้านามให้ถูกต้อง และสอดคล้องกับ

            เพศสภาพในปัจจุบันของบุคคลดังกล่าวได้ อีกทั้ง ในสถานรักษาพยาบาลบางแห่งก็ให้สิทธิในการเข้าถึงการรักษาพยาบาล และ
            สิทธิในการเข้าถึงยาประเภทต่าง ๆ ที่จ�าเป็นต่อการบ�าบัดรักษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด ทั้งนี้ ข้อมูลจากการส�ารวจ
            ความคิดเห็นของประชาชนเรื่อง “สังคมไทยคิดอย่างไรกับเพศที่สาม” พบว่า ในส่วนของการเปลี่ยนแปลงค�าน�าหน้านาม
            ให้สอดคล้องกับลักษณะการแสดงออกทางเพศสภาพ ประชากรกลุ่มตัวอย่างมากกว่าร้อยละ ๕๐ ยังไม่เห็นด้วย เนื่องจาก

            ท�าให้ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าเป็นเพศไหน อาจเกิดความสับสนวุ่นวายตามมา เช่น การตามหาตัวบุคคล และการติดต่อ
            เอกสารหน่วยงานต่าง ๆ ในขณะที่ ยอมรับได้หากมีเพื่อนหรือเพื่อนร่วมงานในองค์กรหรือสมาชิกในครอบครัวเป็นบุคคล
            ที่มีความหลากหลายทางเพศ รวมถึงการออกกฎหมายยอมรับการจดทะเบียนคู่ชีวิต (สมรส) ของบุคคลรักเพศเดียวกัน
            และการเพิ่มทางเลือกในการกรอกข้อมูลด้านเพศของเอกสารราชการทุกชนิดให้มีค�าว่า “เพศที่สาม หรือเพศทางเลือก”

            นอกเหนือไปจากเพศชายและเพศหญิง


                  มิติที่สี่ การยอมรับหรือการอยู่ร่วมกับวิถีวัฒนธรรมอื่น ๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับการแสดงวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ
            ที่แตกต่างหลากหลาย พบว่า บุคคลที่แสดงวิถีทางเพศ และอัตลักษณ์ทางเพศสามารถด�าเนินวิถีชีวิตและประกอบอาชีพ

            หรือได้รับการจ้างงานในอาชีพที่แตกต่างหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อบันเทิง บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
            ที่ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ได้รับการยอมรับทั้งในการปฏิบัติหน้าที่ผู้สื่อข่าว พิธีกร ผู้ด�าเนินรายการ หรือดารา
            นักร้อง และนักแสดง  แต่ทว่า ยังมีรายงานว่า มีการเลือกปฏิบัติในเชิงระบบที่เกิดขึ้น ทั้งการเข้าถึงโอกาสในการศึกษา
                              ๒๕๐
            หรือการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ การสมัครงาน ตลอดจนการเข้ารับราชการ หรือการประกอบอาชีพบางประเภท
                                                                                                            ๒๕๑
                  ทั้งนี้แม้ว่า สถาบันอุดมศึกษาบางแห่งได้ผ่อนปรน หรือพิจารณาอนุญาตให้นิสิต หรือนักศึกษาที่มีเพศสภาพไม่ตรง
            กับเพศก�าเนิดหรือบุคคลข้ามเพศแต่งกายตามเพศสภาพ ณ ปัจจุบัน ในการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรได้  โดยจะ
                                                                                                      ๒๕๒
            ต้องเสนอเรื่องขออนุมัติจากทางมหาวิทยาลัยตามกระบวนการที่ก�าหนด แต่ก็ยังพบข้อจ�ากัดโดยทั่วไปของสถาบันอุดมศึกษา
            ที่ก�าหนดให้นิสิตนักศึกษาที่มีอัตลักษณ์ทางเพศ หรือวิถีทางเพศไม่ตรงกับเพศก�าเนิดต้องไว้ทรงผม และแต่งกายตามเพศ

            ก�าเนิดในการเข้าเรียน การเข้าสอบวัดผล การฝึกปฏิบัติงาน และการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยก�าหนดแนว
            ปฏิบัติให้บัณฑิตแต่งกายตามเพศก�าเนิดและยศให้ถูกต้องเพื่อให้สมพระเกียรติงานพระราชพิธี ประกอบกับมีข้อจ�ากัดใน
            การขานนาม และค�าน�าหน้าชื่อของบัณฑิตซึ่งเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร จึงไม่สามารถให้บัณฑิตแต่งกายชุดครุย
            วิทยฐานะตามวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ                                                               บทที่
                                                                                                                   ๕


                  มิติที่ห้า ความรู้ ความเข้าใจ ต่อวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ พบว่า ประชาชนในบางส่วนยังคงมีทัศนคติ
            ซึ่งจ�าเป็นต้องท�าความเข้าใจเกี่ยวกับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ดังจะเห็นได้จากการปฏิเสธ หรือการยืนยันผ่าน
            การติดประกาศหน้าห้องสุขาว่า “เพศที่สามไม่ใช้ห้องน�้าผู้หญิง” โดยเหตุผลที่เกรงว่า จะมีบุคคลที่มีเจตนาไม่สุจริตอาศัย

            การเสแสร้ง หรือแสดงออกว่าเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเข้าใช้บริการห้องสุขาหญิง  จนกลายเป็นข้อเสนอ
                                                                                          ๒๕๓
            ให้มีการจัดท�าห้องสุขาเฉพาะส�าหรับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ อนึ่ง มีปรากฏการณ์ที่ท�าให้เกิดการตีความของ

            ๒๕๐  www.thaihealth.or.th/Content/26459 -เพศที่สามครองพิธีกร%20เน้นประพฤติดีเป็นตัวอย่าง.html
            ๒๕๑  อาทิ กรณีของเคท ครั้งพิบูลย์ ผู้หญิงข้ามเพศ นักกิจกรรมเพื่อสิทธิเพศทางเลือก ซึ่งได้รับคัดเลือกให้เป็นอาจารย์ประจ�ามหาวิทยาลัยของรัฐบาล แต่ยังไม่ได้รับการบรรจุ และไม่มีการแจ้ง
                ความคืบหน้าใด ๆ และกรณีของเปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา นักกิจกรรมเพื่อสิทธิเพศทางเลือกกับกรณีพิพาทกับการจ้างงานขององค์กรระหว่างประเทศ จนเป็นเหตุให้มีการยุติสัญญา
                การจ้างงานอย่างไม่เป็นธรรม และมีการเจรจาเพื่อเรียกร้องค่าเสียหาย
            ๒๕๒  อาทิ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาพิจารณาปรับปรุง แก้ไข กฎ ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับการแต่งกายของนักศึกษาที่มี
                เพศสภาพไม่ตรงกับเพศก�าเนิด โดยให้ก�าหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ทั้งในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน การเข้าสอบ ตลอดจนการเข้าร่วมพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ มีสถาบันการ
                ศึกษาที่อนุญาตให้นิสิตนักศึกษาข้ามเพศสามารถแต่งกายตามเพศสภาพ ณ ปัจจุบัน เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรได้
            ๒๕๓  news.ch7.com/detail/183367/วิจารณ์สนั่น_ติดป้ายเพศที่_3_ห้ามใช้ห้องน�้าหญิง.html

                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 143
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149