Page 119 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 119
ประเด็น นโยบาย กฎหมาย รายละเอียด
ความก้าวหน้าทาง มาตรการ และกลไกต่าง ๆ
สิทธิด้านสุขภาพ
• กลไกเครือข่ายอาสาสมัครจิตอาสา เป็นกลไกภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือ
ราชประชาสมาสัย และจิตอาสาประชารัฐ ระดับพื้นที่ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�าบล ของส�านักงาน
ภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่ท�าให้กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง
ท้องถิ่นหรือระดับพื้นที่ ร่วมกับองค์การ ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มที่เข้าไม่ถึงบริการ (underutilization)
บริหารส่วนต�าบล ได้เข้าถึงสิทธิในการเข้ารับบริการของรัฐได้ ๑๔๙
• แอพพลิเคชัน “Midfit” โดยกรมสุขภาพ เนื่องจากสภาพสังคมปัจจุบันมีผู้ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า
จิต กระทรวงสาธารณสุข มากขึ้น โดยพบว่ามีผู้ป่วยทั้งสิ้น ๑,๕๐๐,๐๐๐ คน และมีเพียง
ร้อยละ ๕๐ ของจ�านวนดังกล่าวที่เข้าถึงการรักษา กระทรวง
สาธารณสุข โดยกรมสุขภาพจิต ได้พัฒนาแอพพลิเคชั่น
ดังกล่าวให้ประชาชนเป็นช่องทางหนึ่งในการเข้าถึงสิทธิในการ
รับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และเป็นการช่วยคัดกรอง
ในเบื้องต้น รวมถึงให้ค�าแนะน�าในการดูแล ๑๕๐
การเข้าถึงสิทธิการรับบริการในกรณีฉุกเฉิน ภายใต้โครงการ “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (Universal
และกรณีอุบัติเหตุ ๑๕๑ Coverage for Emergency Patients : UCEP) โดยกระทรวง
• ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สาธารณสุขร่วมกับส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ก�าหนดผู้ป่วยฉุกเฉิน ๑๕๒ ส�านักงานประกันสังคม กรมบัญชีกลาง และสถาบันการ
• ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง แพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ท�าให้ประชาชนสามารถเข้ารับการ
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ รักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉินและอุบัติเหตุ ณ สถานพยาบาล
ก�าหนดค่าใช้จ่ายในการด�าเนินการ ใด ๆ โดยไม่มีการเก็บค่าใช้จ่ายใน ๗๒ ชั่วโมงแรก โดยมีศูนย์
ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ๑๕๓ ประสานคุ้มครองสิทธิที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินและมีผล
• ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๐ ตามประกาศกระทรวงฯ ๑๕๕
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ
ช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉิน การระดม
ทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ
เยียวยาและการจัดให้มีการส่งต่อผู้ป่วยไปยัง
สถานพยาบาลอื่น ๑๕๔
๑๔๙ ประชาไทย. (๒๕๖๐). สปสช.หนุน จิตอาสาราชประชาสมาสัย กลไกสู่การดูแลสุขภาพประชาชน. สืบค้นจาก http://prachtai.com/journal/2017/09/73433
๑๕๐ สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๗. (๒๕๖๐). แพทย์เผยสถิติคนไทยป่วยเป็น “โรคซึมเศร้า” เพิ่มขึ้นทุกปี. สืบค้นจาก http://news.ch7.com/detail/241621
๑๕๑ โดยผลการด�าเนินงานตั้งแต่เริ่มโครงการเมื่อวันที่ ๑ เม.ย.๒๕๖๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ มีจ�านวนผู้ป่วยขอใช้สิทธิ ๑๕,๒๔๓ ราย เป็นผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ ๖,๗๕๗ รายหรือประมาณร้อยละ
๔๔ ในจ�านวนนี้อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๓,๑๑๗ ราย ส่วนใหญ่เป็นการใช้สิทธิผ่านระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. ส�านักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ. (๒๕๖๐). สธ.ให้
รพ.ช่วยประชาสัมพันธ์อาการวิกฤตฉุกเฉินเกณฑ์ UCEP. สืบค้นจาก www.hfocus.org/content/2017/11/14842
๑๕๒ ส�านักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. (๒๕๖๐). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องก�าหนดผู้ป่วยฉุกเฉิน. สืบค้นจาก www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER15/
DRAWER053/GENERAL/DATA0000/00000259.PDF
๑๕๓ ส�านักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. (๒๕๖๐). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการก�าหนดค่าใช้จ่ายในการด�าเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต.
สืบค้นจาก www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER15/DRAWER053/GENERAL/DATA0000/00000261.PDF
๑๕๔ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (๒๕๖๐). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉิน การระดมทรัพยากรและมีส่วนร่วมใน
การเยียวยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉิน และการจัดให้มีการส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลอื่น. สืบค้นจาก www.niems.go.th/th/Upload/File/256005102139385248_xY4njG5pm7oWurUL.
pdf
๑๕๕ หน้า ๔๐ สรุปผลการด�าเนินงาน คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ.
118 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐