Page 118 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 118
บทที่ ๔ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
ประเด็น นโยบาย กฎหมาย รายละเอียด
ความก้าวหน้าทาง มาตรการ และกลไกต่าง ๆ
สิทธิด้านสุขภาพ
• ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขได้จัดท�าแผนยุทธศาสตร์ eHealth
(eHealth Strategy) (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ได้น�าระบบสารสนเทศมาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยและ
๒๕๖๓) สถานพยาบาล ความมั่นคงของระบบยา วัคซีน เวชภัณฑ์
๑๔๑
และเทคโนโลยีทางการแพทย์ และพัฒนาหน่วยบริการ
สุขภาพ ส�าหรับประชากรตามพื้นที่ห่างไกล เพื่อสนับสนุน
ให้สิทธิในการเข้าถึงบริการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นตามนโยบาย
Thailand 4.0 ๑๔๒
• นโยบายการมีส่วนร่วมของประชาชนใน กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการจัดระบบสนับสนุน
ระบบสุขภาพ การถ่ายโอนภารกิจบางอย่างในระบบสุขภาพที่ไม่จ�าเป็น
การถ่ายโอนภารกิจในระบบสุขภาพที่ไม่จ�าเป็นต้องท�าโดย
บุคลากรวิชาชีพสุขภาพ ไปยังบุคลากรกลุ่มไม่เป็นทางการ
เช่น อาสาสมัคร ผู้ดูแลสุขภาพ รวมทั้งบุคลากรภายนอก
สายสุขภาพ และจัดระบบบริการปฐมภูมิให้เข้มแข็งโดยให้
ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ๑๔๓
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิได้อย่างมีประโยชน์สูงสุดจาก
๑๔๔
Health Coverage-UHC) ระบบหลัก ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว โดยกระทรวงสาธารณสุขได้มี
ประกันสุขภาพแห่งชาติ กระบวนการรับฟังความเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง
๑๔๕
• ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ ๑๔๗ การเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงสิทธิกับกลุ่มเปราะบาง
แห่งชาติ พ.ศ. .... ๑๔๖ (vulnerable) และหรือกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ
• ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกัน (underutilization) ผ่านกลไกของยุทธศาสตร์ฯ ฉบับที่ ๔
สุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ๑๔๘ บทที่
๔
- ๒๕๖๔
๑๔๑ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๐). (ฉบับร่าง) ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (๒๕๕๙-๒๕๖๓). สืบค้น
จาก https://ict.moph.go.th
๑๔๒ ส�านักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ. (๒๕๖๐). สธ. พัฒนาทุนมนุษย์ e-Health ตามแผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓. สืบค้นจาก www.hfocus.org/
content/2017/07/14281
๑๔๓ ส�านักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ. (๒๕๖๐). ความต้องการ “ก�าลังคนสุขภาพ” ของไทยในทศวรรษหน้า. สืบค้นจาก www.hfocus.org/content/2017/11/14840
๑๔๔ ในปี ๒๕๖๐ พบว่า งบประมาณด้านสาธารณสุขคิดเป็นร้อยละ ๖ ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศ หรือคิดเป็นเงินจ�านวน ๑๖๓,๑๕๒ ล้านบาท โดยคิดอัตราเหมาจ่ายเฉลี่ย ๓,๐๒๘.๙๔
บาทต่อหัวประชากรผู้มีสิทธิ ประชากรร้อยละ ๙๙.๙๑ ของประชากรทั้งประเทศได้ลงทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเป็นผู้มีสิทธิตามระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ระบบประกันสังคม ระบบสวัสดิการข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ สวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น ครูเอกชน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๔๑ ร้อยละ ๑๗.๔๘ ร้อยละ ๗.๓๗ ร้อยละ ๐.๙๔ และร้อยละ
๐.๑๒ ตามล�าดับ และประชากรส่วนใหญ่กว่า ๔๘ ล้านคน สามารถเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (Universal Coverage Scheme: UCS) คิดเป็นร้อยละ
๙๙.๘๘ ของความครอบคลุมของประชากรที่มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (๒๕๖๐). ผลการด�าเนินงาน. สืบค้นจาก www.nhso.go.th/
FrontEnd/page-about_result.aspx
๑๔๕ ในปี ๒๕๖๐ ประชากรส่วนใหญ่กว่า ๔๘ ล้านคน สามารถเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (Universal Coverage Scheme: UCS) คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๘๘
ของความครอบคลุมของประชากรที่มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.
๑๔๖ ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... และตารางแสดงเปรียบเทียบระหว่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ กับ (ร่าง) พระราชบัญญัติหลัก
ประกันสุขภาพแห่งชาติ(ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... และเหตุผลในการแก้ไขเพิ่มเติม.
๑๔๗ รัฐบาลไทย. (๒๕๖๐). ร่าง พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับใหม่ ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด. สืบค้นจาก www.thaigov.go.th/news/contents/details/4454
๑๔๘ ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (๒๕๖๐). ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔). สืบค้นจาก www.nhso.go.th/frontend/
page-contentdetail.aspx?CatID=MTAzMg==
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 117