Page 120 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 120

บทที่ ๔ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม
                                                                    และวัฒนธรรม


                  ประเด็น              นโยบาย กฎหมาย                              รายละเอียด
             ความก้าวหน้าทาง        มาตรการ และกลไกต่าง ๆ
              สิทธิด้านสุขภาพ

                              ระบบประกันสังคม                    ได้วางแนวทางในการคืนสิทธิประโยชน์ในการรับบริการ
                              • ร่างพระราชบัญญัติการกลับเป็นผู้ประกัน สาธารณสุขของรัฐให้กับผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๙ ของ
                                ตน พ.ศ. ....                     พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ได้สิ้นสภาพ
                                          ๑๕๖
                                                                 ตามมาตรา ๔๑ (๔) และ(๕) จ�านวนประมาณ ๙๓๐,๐๐๐ คน  ๑๕๗

                                                          ๑๕๘
             การลดความเหลื่อมล�้า  การจัดการระบบการบริการปฐมภูมิ    ระบบการบริการปฐมภูมิที่มีประสิทธิภาพจะช่วยลดความ
                                                                                                           ๑๕๙
             ในการเข้าถึงสิทธิ  • ร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาเครือข่ายบริการ เหลื่อมล�้าในการเข้าถึงสิทธิในการรับบริการด้านสุขภาพ
             ในการรับบริการด้าน ปฐมภูมิ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙)         โดยเป็นการบูรณาการหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้มีเอกภาพ
             สุขภาพ           • ร่างพระราชบัญญัติการแพทย์ปฐมภูมิและ และเข้มแข็ง โดยมียุทธศาสตร์เป็นกรอบการด�าเนินงานด้าน
                                บริการสาธารณสุข พ.ศ. ....        ปฐมภูมิ และมีกฎหมายในการบริหารจัดการระบบการแพทย์
                              • ร่างระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย ปฐมภูมิให้เกิดการท�างานครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ

                                คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ สร้างชุมชนเข้มแข็ง และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่าง
                                อ�าเภอ พ.ศ. ....                 เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ๑๖๐
             การเข้าถึงปัจจัยที่มีผล •  พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาด  การประกาศใช้พระราชบัญญัติดังกล่าว แสดงถึงความตั้งใจ

             ต่อสุขภาพ (health  อาหารส�าหรับทารกและเด็กเล็กและ ของรัฐบาลในการปกป้องสุขภาพเด็กและทารก และประกัน
             determinants)      ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. ๒๕๖๐  ๑๖๑  การเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนให้กับมารดาในการเลือก
                                                                 อาหารแก่บุตรแรกเกิด  ๑๖๒


                  รัฐบาลได้จัดสรรเงินงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดบริการด้านสาธารณสุขให้เกิดการพัฒนา การเข้าถึงสิทธิโดย

            ล�าดับ  โดยประชากรเกือบทั้งหมดของประเทศสามารถเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพผ่านระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
                 ๑๖๓
            (Universal Health Coverage - UHC) ตามสิทธิของตนเอง ซึ่งได้แก่ ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบสวัสดิการ  บทที่
            รักษาพยาบาลของข้าราชการ และระบบประกันสังคม รวมถึงในกรณีอุบัติเหตุและฉุกเฉินโดยไม่ต้องถูกซักถามอีกด้วย    ๔
                                                                                                            ๑๖๔
            ในปี ๒๕๖๐ พบว่า ผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพกว่า ๒๕๐,๐๐๐ คน อาจได้รับผลกระทบจากการเข้าถึงการบริการ

            เนื่องจากการถอนตัวของโรงพยาบาลเอกชนจ�านวน ๔ แห่งในพื้นที่กรุงเทพมหานครออกจากหน่วยบริการปฐมภูมิและ
            หน่วยรับส่งต่อระดับทุติยภูมิ และอีก ๓ แห่งได้ขอถอนตัวออกจากหน่วยบริการรับส่งเช่นกัน ถึงแม้ว่าส�านักงานหลักประกัน


            ๑๕๖  มติคณะรัฐมนตรี เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติการกลับเป็นผู้ประกันตน พ.ศ. .... เมื่อวันที่  ๔ เมษายน ๒๕๖๐  คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติการกลับเป็นผู้ประกันตน
                พ.ศ. .... เสนอโดยกระทรวงแรงงาน ให้ผู้ที่สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนเพราะไม่น�าส่งเงินสมทบเข้ากองทุนเงินประกันสังคมมีโอกาสกลับมาเป็นผู้ประกันตนได้อีก.
            ๑๕๗  ส�านักงานประกันสังคม. (๒๕๖๐). ร่างพระราชบัญญัติการกลับเป็นผู้ประกันตน พ.ศ. .... สืบค้นจาก  www.sso.go.th/wpr/content.jsp?lang=th&cat=762&id=4673
            ๑๕๘  กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดท�าร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๙) รองรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ และร่างพระราชบัญญัติ
                การแพทย์ปฐมภูมิ พ.ศ. .... โดยได้จัดการรับฟังความคิดเห็น จ�านวน ๔ ครั้ง ระหว่างเดือนเมษายน - เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบให้จัดท�าร่างระเบียบ
                ส�านักนายกรัฐมนตรี รองรับการด�าเนินการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพระดับอ�าเภอ.
            ๑๕๙  หน้า ๔๘-๔๙ ผลการด�าเนินงาน คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ.
            ๑๖๐  รัฐบาลไทย. (๒๕๖๐). คกก.ขับเคลื่อนและปฏิรูปฯ ด้านสาธารณสุขเตรียมเสนอร่าง พ.ร.บ.การแพทย์ปฐมภูมิและบริการสาธารณสุข เข้า ครม.ปลายธันวาคมนี้. สืบค้นจาก www.thaigov.
                go.th/news/contents/details/6323
            ๑๖๑  ส�านักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. (๒๕๖๐). พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารส�าหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. ๒๕๖๐. สืบค้นจาก
                www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/072/1.PDF
            ๑๖๒  องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย. (๒๕๖๐). พ.ร.บ.นมผง บังคับใช้ “๘ ก.ย.๖๐” ห้ามโฆษณา-ห้ามแจกตัวอย่าง-ห้ามให้ของขวัญ. สืบค้นจาก http://news.
                thaipbs.or.th/content/265728
            ๑๖๓  จากผลการด�าเนินงานการสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พบว่า งบประมาณด้านสาธารณสุขคิดเป็นร้อยละ ๖ ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศ หรือคิดเป็นเงินจ�านวน
                ๑๖๓,๑๕๒ ล้านบาท โดยคิดอัตราเหมาจ่ายเฉลี่ย ๓,๐๒๘.๙๔ บาทต่อหัวประชากรผู้มีสิทธิ ประชากรร้อยละ ๙๙.๙๑ ของประชากรทั้งประเทศได้ลงทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพ
                ถ้วนหน้า โดยเป็นผู้มีสิทธิตามระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบประกันสังคม ระบบสวัสดิการข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ สวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น ครูเอกชน คิดเป็นร้อยละ
                ๗๓.๔๑  ร้อยละ ๑๗.๔๘ ร้อยละ ๗.๓๗ ร้อยละ ๐.๙๔ และร้อยละ ๐.๑๒ ตามล�าดับ และประชากรส่วนใหญ่กว่า ๔๘ ล้านคน สามารถเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพในระบบหลักประกันสุขภาพ
                แห่งชาติ (Universal Coverage Scheme: UCS) คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๘๘ ของความครอบคลุมของประชากรที่มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. ส�านักงานหลักประกันสุขภาพ
                แห่งชาติ (สปสช.). (๒๕๖๐). ผลการด�าเนินงาน. สืบค้นจาก www.nhso.go.th/FrontEnd/page-about_result.aspx
            ๑๖๔  หน้า ๑๘ แผนสิทธิมนุษยชนด้านสาธารณสุข แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๑) กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.


                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 119
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125