Page 107 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 107
สิทธิที่สูงกว่าประชากรภาคอื่น ๆ รองจากภาคกลางและภาคใต้ และประชากรภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะ
เข้าถึงสิทธิน้อยกว่าประชากรภาคอื่น ๆ
๑๐๘
• คุณภาพทางศึกษา พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational
Test : O-NET) มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ยังต�่ากว่าร้อยละ ๕๐ และคุณภาพการศึกษาขึ้นกับปัจจัยที่ตั้งและพื้นที่ทางภูมิศาสตร์
ตลอดจนขนาดของโรงเรียน ถึงแม้ว่ารัฐบาลได้สนับสนุนงบประมาณให้ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการศึกษา
๑๐๙
ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดหาอุปกรณ์โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ส�านักงานเขตพื้นที่สามารถด�าเนินการจัดการศึกษา
ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Television - DLIT) และก�าหนด
๑๑๐
กรอบวงเงินพัฒนาครูประจ�าการเพื่อจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning) และน�ารูปแบบ
๑๑๑
การจัดการสอนแบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมเทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ (Science, Technology, Engineering
and Mathematics Education) หรือ STEM Education มาเป็นกลยุทธ์หลักในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ของนักเรียนทุกช่วงชั้น
๑๑๒
• การเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาของกลุ่มเด็กเปราะบางซึ่งเป็นเด็กไร้สัญชาติ เด็กไร้รัฐ รวมถึงเด็กที่อยู่ในสถาน
กักตัวของส�านักงานตรวจคนเข้าเมือง คณะกรรมการประจ�ากติกา ICESCR ได้มีข้อกังวลเรื่องเด็กที่อยู่ในสถานกักตัวร่วม
กับผู้ใหญ่จะไม่ได้รับอนุญาตให้ไปโรงเรียน และมีข้อเสนอแนะให้ประเทศไทยรับรองว่าเด็กไร้รัฐ และเด็กไร้สัญชาติจะได้รับ
สิทธิทางการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษา
๑๑๓
๑๐๘ จากระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ รายงานว่า จ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากร จ�าแนกตามกลุ่มอายุ และภูมิภาค
ปีการศึกษา ๒๕๕๙ เด็กและเยาวชนที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองมีจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ยที่ ๙.๗ ปี สูงกว่าเด็กและเยาวชนที่อาศัยอยู่นอกเขตเมืองมีจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ยที่ ๗.๖ ปี และคนกรุงเทพฯ
มีจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ยสูงสุดที่ ๑๑.๑ ปี รองจากคนภาคกลางและภาคใต้ซึ่งมีจ�านวนปีการศึกษาเฉลี่ย ๘.๙ ปี และ ๘.๕ ปีตามล�าดับ และคนภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจ�านวน
ปีการศึกษาเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ๗.๕ ปี. ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ. (๒๕๖๐). ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต. สืบค้นจาก http://social.nesdb.go.th
๑๐๙ สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-Net) ในปีการศึกษา ๒๕๕๙ รายงานว่า ในการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ทั้งประเทศ คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย สังคมศึกษา
ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ๕๒.๙๘, ๔๖.๖๘, ๓๔.๕๙, ๔๐.๔๗ และ ๔๑.๒๒ ตามล�าดับ ระดับชั้นมัธยมปีที่ ๓ ทั้งประเทศ คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษา
อังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ๔๖.๓๖, ๔๙.๐๐, ๓๑.๘๐, ๒๙.๓๑ และ ๓๔.๙๙ ตามล�าดับ ระดับชั้นมัธยมปีที่ ๖ คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ ๕๒.๒๙, ๓๕.๘๙, ๒๗.๗๖, ๒๔.๘๘ และ ๓๑.๖๒ ตามล�าดับ โดยผลการทดสอบในทุกระดับชั้น โรงเรียนในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดทุกวิชาและสูงกว่าระดับ
คะแนนเฉลี่ยของประเทศ ในขณะที่โรงเรียนในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีคะแนนเฉลี่ยต�่าสุดทุกวิชา และต�่ากว่าค่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกวิชา และโรงเรียนขนาดเล็กจะมีคะแนน
ค่าเฉลี่ยที่ต�่ากว่าโรงเรียนขนาดใหญ่ และโรงเรียนในสังกัดส�านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา มีค่าคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงสุดของประเทศ ทั้งในระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ และมัธยมศึกษาปีที่
๓ ในขณะที่โรงเรียนในสังกัดส�านักบริหารงานคณะกรรมการเอกชน มีคะแนนเฉลี่ยเป็นอันดับรอง โรงเรียนในก�ากับกระทรวงศึกษา (โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์) มีคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงสุด
ชองประเทศในระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และโรงเรียนในสังกัดส�านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และโรงเรียนในสังกัดส�านักบริหารงานคณะกรรมการเอกชน มีคะแนนเฉลี่ยเป็นอันดับรอง และ
อันดับถัดไป และโรงเรียนในสังกัดส�านักการศึกษาพิเศษมีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET ต�่าที่สุดในทุกระดับชั้น. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (๒๕๖๐). สรุปผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติ (O-Net) ในปีการศึกษา ๒๕๕๙. สืบค้นจาก www/niets.or.th/th/catalog/view/470
๑๑๐ ศูนย์พัฒนาคุณภาพทางการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล. (๒๕๖๐). หนังสือด่วนที่สุด ที่ ศธ ๐๔๒๗๙/๑๒๖๑ ลงวันที่๑๘ กันยายน ๒๕๖๐เรื่อง อนุมัติจัดสรรงบกลางรายการเงินส�ารอง
จ่ายกรณีฉุกเฉินหรือจ�าเป็น ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เพื่อใช้ในการจัดสรรระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ตามโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT). สืบค้นจาก www.dlthailand.com/hnangsux-rachkar-cak-sphth
๑๑๑ แจ้งข่าว! ส�าหรับหน่วยงาน องค์กร หรือบุคคล ที่มีศักยภาพในการพัฒนาครูหรือมีหลักสูตรการอบรมพัฒนาครูประจ�าการ แหล่งอ้างอิงเดิม
๑๑๒ คณะอนุกรรมการฝ่ายข้อมูล ส�านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (๒๕๖๐). รายการร้อยเรื่องเมืองไทย สถานีวิทยุกระจายเสียงรัฐสภา. สืบค้นจาก http://library2.parliament.go.th/
giventake/content_royrueng/2559/rr2559-oct1.pd
๑๑๓ The Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. (2017). International Covenant on Civil and Political Rights, CCPR/C/THA/2 25 April 2017 para
29-30, para 41-42. Retrieved from http://tbinternet.ohchr.org/SitePages/Home.aspx
106 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐