Page 104 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 104
บทที่ ๔ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
ความก้าวหน้า นโยบาย กฎหมาย รายละเอียด
สิทธิทางการศึกษา มาตรการและกลไกต่าง ๆ
พร้อมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด
ตาก โดยจัดท�าบัตรประจ�าตัวให้กับเด็กและ
เยาวชนข้ามชาติ และไร้สัญชาติ ซึ่งเป็นนักเรียน
ในโรงเรียนเอกชนพื้นที่อ�าเภอแม่สอด จังหวัดตาก
เพื่อจะได้น�าไปขออนุมัติงบประมาณสนับสนุน
ด้านการศึกษาจากส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน (สช.) ท�าให้เด็กและเยาวชนกลุ่ม
ดังกล่าวในพื้นที่ได้เข้าถึงสิทธิในการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ๙๒
การลดความเหลื่อมล�้า การลดความเหลื่อมล�้าของคุณภาพการศึกษา การปรับปรุงระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ทางการศึกษา • ร่างกฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และ ท�าให้การเข้าถึงสิทธิทางการศึกษาเป็นที่ยอมรับได้
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ๙๓ (acceptability) เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเอกชน
• แนวทางการอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการ ประเภทสามัญได้รับสิทธิทางการศึกษาอย่างมี
ศึกษาขั้นพื้นฐานส�าหรับนักเรียนในโรงเรียน คุณภาพ กระทรวงศึกษาได้ก�าหนดแนวทาง
เอกชนประเภทสามัญศึกษา ๙๔ การอุดหนุนค่าใช้จ่ายในโรงเรียนเอกชนดังกล่าว
• จัดท�าร่างระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วย โดยให้ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา
การก�าหนดมาตรการช่วยเหลือนักเรียนใน เอกชนจัดท�าร่างระเบียบฯ เพื่อก�าหนดมาตรการ
โรงเรียนเอกชนเป็นเงินอุดหนุนรายบุคคล ก�ากับและควบคุมโรงเรียน และก�าหนดเงื่อนไข
โดยส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา การใช้เงินอุดหนุน โดยคาดว่าจะด�าเนินการได้
เอกชน (สช.) ๙๕ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
• โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีทางไกลผ่านดาวเทียม (Digital บทที่
Learning Television-DLTV) ๔
• โครงการการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี
สารสนเทศ (Distance Learning Information
Technology-DLIT) ๙๖
๙๒ บีบีซีไทย. (๒๕๖๐). แม่สอดโมเดล : ทางการมอบบัตรประจ�าตัวเพื่อสิทธิทางการศึกษาของเยาวชนข้ามชาติในไทย. สืบค้นจาก www.facebook.com/BBCThai/posts/1756397447914621
๙๓ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๐ คณะรัฐมนตรีได้มีมติหลักการของ (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. .... เพื่อเป็นการปรับปรุงระบบการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอกให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยให้ยกเลิกกฎกระทรวงฉบับเดิม พ.ศ. ๒๕๕๓ ก�าหนดบทนิยามให้เกิด
ความชัดเจนในการบังคับใช้กฎหมาย และก�าหนดให้ผู้บริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งมีหน้าที่ในการด�าเนินการประกันคุณภาพการศึกษาประจ�าปี โดยจัดให้มีระบบการประเมินคุณภาพการ
ศึกษาภายใน รวมทั้งก�าหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ากับดูแลสถานศึกษา ท�าการติดตามและรวบรวมผลการประเมินเพื่อส�านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการ
ศึกษาจะได้ด�าเนินการจัดท�ารายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา ตลอดจนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทุกแห่ง. ส�านักงานคุณภาพการศึกษา. (๒๕๖๐). หลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน. สืบค้นจากแหล่ง http://eq.rmutsb.ac.th
๙๔ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการการอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานส�าหรับนักเรียนในโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษา เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนเอกชน ประเภท
สามัญศึกษา เข้าถึงบริการด้านการศึกษาที่รัฐสนับสนุนอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน และได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมตามคุณลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน โดยมีการปรับเพิ่มอัตราเงิน
อุดหนุนค่าใช้จ่ายรายบุคคลในส่วนของเงินสมทบเป็นเงินเดือนครูส�าหรับนักเรียนทุกคน เงินสมทบเป็นค่าธรรมเนียมการศึกษาส�าหรับนักเรียนในโรงเรียนการกุศลและนักเรียนพิการ รวม
ทั้งเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายบุคคลเพิ่มเติมเป็นค่าปัจจัยพื้นฐานส�าหรับนักเรียนยากจนและอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายบุคคลเพิ่มเติมให้นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยส�านักงบประมาณแห่ง
ชาติมีความเห็นว่า ควรปรับเพิ่มอัตราเงินอุดหนุนรายบุคคลในส่วนเงินสมทบเป็นเงินเดือนครู เพื่อเป็นการประกันรายได้ครูโรงเรียนเอกชนให้ได้รับเงินเดือนเท่ากับฐานเงินเดือนขั้นต�่าของ
รัฐ โดยจะเริ่มด�าเนินการได้ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป และให้กระทรวงศึกษาธิการก�าหนดมาตรการก�ากับและควบคุมให้โรงเรียนเอกชนจ่ายเงินเดือนครูตามวุฒิให้ชัดเจน
จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เรื่อง แนวทางการอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานส�าหรับนักเรียนในโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา.
๙๕ โดยรัฐบาลเห็นชอบกรอบวงเงินงบประมาณปี ๒๕๖๑ เป็นเงินจ�านวน ๒๘๑.๙ ล้านบาท เพื่อใช้อุดหนุนเงินสมทบเงินเดือนครู โดยระดับก่อนประถมศึกษา ถึงประถมศึกษาได้รับเป็น
เงิน ๓๖๐ บาท/นักเรียน/ปี และระดับมัธยมศึกษาเป็นเงิน ๔๕๐ บาท/คน/ปี ซึ่งจะเป็นการประกันรายได้ครูโรงเรียนเอกชนให้ได้รับเงินเดือนเท่ากับฐานเงินเดือนขั้นต�่าของรัฐ. ส�านักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (๒๕๖๐). การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ครั้งที่ ๒/๒๕๖๐. สืบค้นจากแหล่ง www.opec.go.th/webopec/content.
php?page=content&group=executive&cid=1201
๙๖ ตามหนังสือส�านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ ๐๒๐๘/๑๖๗๐๘ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เรื่อง ข้อมูลประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ของประเทศไทย ประจ�าปี ๒๕๖๐ แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับความคืบหน้าในการด�าเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาผ่านดาวเทียม และการการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ.
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 103