Page 103 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 103
ความก้าวหน้า นโยบาย กฎหมาย รายละเอียด
สิทธิทางการศึกษา มาตรการและกลไกต่าง ๆ
กองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ และ
เสริมสร้างพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู
และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมถึงการจัดท�า
ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ....
เพื่อให้หน้าที่ของรัฐในการจัดการศึกษาเป็นไปตาม
ที่ได้บัญญัติไว้ในมาตรา ๕๔ รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
การเข้าถึงสิทธิทางการ • โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย โครงการดังกล่าวเป็นการเปิดโอกาสในการเข้าถึง
ศึกษาในขั้นสูง เพื่อการจัดการเรียนการสอนในระบบเปิด สิทธิทางการศึกษาขั้นอุดมศึกษาอย่างเท่าเทียม
(Thailand Massive Open Online Course กันบนพื้นฐานของความสามารถของผู้เรียน
- Thai MOOC) ภายใต้โครงการขับเคลื่อน ซึ่งไม่มีค่าใช้จ่าย
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โดยส�านักงาน
คณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวง
ศึกษาธิการ ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม ๙๐
การเข้าถึงสิทธิทางการ • นโยบายการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้มีเชื้อเอชไอวี คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและ
ศึกษาของกลุ่มเด็กและ ในการสมัคร การคัดเลือกและการเรียนต่อ แก้ไขโรคเอดส์ ได้ประกาศนโยบายการไม่เลือก
เยาวชนที่มีเชื้อเอชไอวี ในสถานศึกษาของคณะกรรมการแห่งชาติ ปฏิบัติต่อผู้มีเชื้อเอชไอวีในการสมัคร การคัดเลือก
หรือสงสัยว่ามีเชื้อเอชไอวี ว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขโรคเอดส์ และการเรียนต่อในสถานศึกษา โดยก�าหนดว่า
นโยบายและแนวปฏิบัติของสถานศึกษา ต้องไม่
เป็นการกีดกันและการเลือกปฏิบัติต่อผู้มีเชื้อเอชไอวี
หรือสงสัยว่ามีเชื้อเอชไอวี และห้ามเรียกร้องหรือ
บังคับให้มีการตรวจหาการติดเชื้อหรือการมีเชื้อ
เอชไอวีเป็นเงื่อนไขในการรับเข้าเรียน
๙๑
การเข้าถึงสิทธิทางการ • มาตรการจัดท�าบัตรประจ�าตัวให้กับเด็กและ กระทรวงศึกษาธิการได้ประสานกับกระทรวง
ศึกษาของเด็กและ เยาวชนกลุ่มไร้สัญชาติ มหาดไทยเพื่อการดังกล่าวเพื่อเด็กและเยาวชนกลุ่ม
เยาวชนไทยกลุ่มไร้สัญชาติ ไร้สัญชาติจะสามารถเข้าถึงสิทธิในการศึกษาขั้น
พื้นฐานโดยไม่มีค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของ
คนทุกคนในประเทศไทย โดยมีกรณีตัวอย่างของ
แม่สอดโมเดล ซึ่งเป็นการด�าเนินการร่วมกันระหว่าง
ส�านักงานเขตพื้นที่ทางการศึกษาประถมศึกษา
(สพป.) ตาก เขต ๒
๙๐ กระทรวงศึกษาธิการ โดยส�านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้จัดท�าโครงการ Thai MOOC
(Thailand Massive Open Online Course: Thai MOOC) ภายใต้โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ซึ่งเป็นระบบและศูนย์กลางการจัด “การศึกษาระบบเปิดเพื่อการเรียน
รู้ตลอดชีวิต” (Lifelong Learning Space) ภายใต้โครงการ Thai MOOC มีมหาวิทยาลัยในประเทศไทยกว่า ๔๐ แห่งเข้าร่วมและเปิดการสอนในวิชาต่าง ๆ มากกว่า ๑๔๐ รายวิชา
ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยพัฒนาให้คนไทยก้าวหน้าทันโลกที่ไม่หยุดนิ่ง. กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๐). โครงการ Thai MOOC (Thailand Massive Open Online Course:
Thai MOOC). สืบค้นจาก http://mooc.thaicyberu.go.th
๙๑ ประกาศคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ เรื่อง นโยบายการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้มีเชื้อเอชไอวี ในการสมัคร การคัดเลือก และการเรียน หรือศึกษาต่อในสถาน
ศึกษา ลงวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐.
102 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐