Page 30 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประชาคมอาเซียน
P. 30

พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประชาคมอาเซียน
                                                                          Human Rights Obligations of the ASEAN Community






                       ข้อ                                       เนื้อหา

                      ๑ - ๒      กล่าวถึงหลักความเท่าเทียมในสิทธิและเสรีภาพ โดยไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างใด ๆ


                     ๓ - ๑๑      กล่าวถึงสิทธิในการด�ารงชีวิตของบุคคล พร้อมกับปฏิเสธพฤติกรรมใด ๆ ก็ตามที่ลิดรอน
                                 สิทธิและขอบเขตของอ�านาจศาล

                    ๑๒ - ๑๗      กล่าวถึงสิทธิเสรีภาพในทรัพย์สินของตนเอง รวมถึงการเคลื่อนย้ายถิ่นพ�านักอาศัย


                    ๑๘ - ๒๑      กล่าวถึงสิทธิในอิสรภาพแห่งความคิดอันเป็นไปตามเจตจ�านงของตนเอง และการ
                                 แสดงออกอย่างสันติ ทั้งทางด้านสังคมและการเมือง

                    ๒๒ - ๒๗      กล่าวถึงสิทธิของบุคคลในการบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

                    ๒๘ - ๓๐      เป็นการยืนยันถึงข้อประกาศข้างต้น และปฏิเสธแนวทางอื่นที่ไม่สอดคล้องกับข้อความ

                                 ในปฏิญญาฉบับนี้ 4






                         ๒.๒.๓ ตราสารระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน  (International  Instruments  on  Human
            Rights)

                                 องค์การสหประชาชาติ  (United  Nations)  ได้จัดท�าข้อตกลงระหว่างประเทศขึ้นเพื่อก�าหนด
            พันธกรณีสิทธิมนุษยชนในด้านต่าง ๆ ให้ประเทศที่ให้สัตยาบัน โดยปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสมาชิกสนธิสัญญา
                                                       5
            ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนจ�านวน ๗ ฉบับ  จากทั้งหมด ๙ ฉบับ ซึ่งองค์การสหประชาชาติถือว่าสนธิสัญญาทั้ง
            ๙ ฉบับนี้เป็นสนธิสัญญาหลักในด้านสิทธิมนุษยชน โดยมีรายชื่อ ดังนี้
                                 (๑) อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the

                                      Elimination of All Forms of Discrimination against Women: CEDAW)
                                 (๒) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child: CRC)
                                 (๓) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (the International

                                      Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR)
                                 (๔) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (The International
                                      Covenant on Economic, Social and Cultural Rights: ICESCR)

                                 (๕) อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (The International
                                      Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination: CERD)



                    4  ส�าหรับการวิเคราะห์เนื้อหาและความเป็นมาในการเจรจาและยกร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน  โดยศึกษาจาก  The

            Universal Declaration of Human Rights: Origins, Drafting and Intent, by Johannes Morsink, 1999, Pennsylvania: University
            of Pennsylvania Press.
                    5  From “UN list of signatories and ratifications of Convention on Prevention and Punishment of the Crime of
            Genocide” Chapter IV Human Rights by United Nations, Treaty Series Vol.78 pp 277. Retrieved from https://treaties.
            un.org/Pages/ViewDetails.aspx?src=TREATY&mtdsg_no=IV-1&chapter=4&lang=en
                                                                                                              29
                                                                          ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35