Page 70 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 70

ในส่วนของสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการบังคับบุคคลให้สูญหายประเทศไทยประสบปัญหาการบังคับบุคคลสูญหาย
            มาโดยตลอด ซึ่งการหายสาบสูญโดยถูกบังคับของบุคคลเป็นวิธีการนอกกฎหมายวิธีหนึ่งที่มักจะมีการกล่าวอ้างจากญาติ

            ของผู้สูญหายว่าอาจมีความเกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในการใช้อ�านาจในการปฏิบัติหน้าที่ โดยอาจจัดกลุ่มเหตุการณ์ที่มี
            ผู้สูญหายโดยถูกบังคับได้ ดังนี้


                     ๑. กรณีที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือกรณีนายมะยาเต็ง มะรานอ ถูกเจ้าหน้าที่ทหารจ�านวน
            หลายนายใช้อ�านาจตามกฎอัยการศึกท�าการปิดล้อม ตรวจค้นและควบคุมตัวนายมะยาเต็งฯ พร้อมกับรถยนต์ของนายมะยา

            เต็งไปต่อหน้าภรรยาและบุตร เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๐ จากนั้นก็ไม่ปรากฏว่านายมะยาเต็งยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ และญาติ
            ของผู้สูญหายได้เห็นนายมะยาเต็งครั้งสุดท้ายขณะที่อยู่ในการควบคุมตัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร  หรือกรณีนายอับดุลเลาะห์
                                                                                         ๓๓
            อาบูคารี ที่หายตัวไปเมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๒ ซึ่งเป็นพยานส�าคัญในคดีที่กรมสอบสวนคดีพิเศษสืบสวนเจ้าหน้าที่ต�ารวจ

            ระดับสูงที่ถูกกล่าวหาว่าร่วมกันซ้อมทรมานลูกความของนายสมชาย นีละไพจิตร ในคดีปล้นปืนค่ายนราธิวาสราชนครินทร์
                       ๓๔
            เมื่อปี ๒๕๔๗  หรือกรณีของนายอิบรอเฮง กาโฮง และนายดุลหามิ มะแร ที่ได้หายไปหลังจากที่ไปติดต่อขอรับเรือจากค่าย
                                                                                   ๓๕
            ต�ารวจตระเวนชายแดนในอ�าเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๔  กรณีนายนาสือลัน ปิ เมื่อวันที่ ๑๗
            มกราคม ๒๕๕๕ ได้ถูกลักพาตัวไปจากร้านน�้าชาใกล้บ้านของตนเอง อ�าเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส โดยมีชาย ๒ คน
            แต่งกายคล้ายชุดทหาร มีอาวุธประจ�ากาย ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งได้มีการแจ้งความไว้กับพนักงานต�ารวจ

                                                            ๓๖
            ในพื้นที่ให้สืบสอบสวนแล้ว แต่ก็ยังไม่มีความคืบหน้าใด ๆ  กรณีนายฟาเดล เสาะหมาน อดีตผู้ต้องขังที่ถูกด�าเนินคดีเกี่ยว
                                                                                                         ๓๗
            กับความมั่นคง ซึ่งถูกกลุ่มชายฉกรรจ์ ๓ คนใช้ก�าลังบังคับเอาตัวและหายสาบสูญไป เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๙  เป็นต้น
                                                                                                               ๓๘
                     ๒. กรณีเหตุการณ์ในช่วงสงครามยาเสพติด เช่น การสูญหายของบุคคลในช่วงสงครามยาเสพติดในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นต้น
                     ๓. กรณีที่ผู้สูญหายมีความขัดแย้งรุนแรงกับผู้มีอิทธิพลหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐบางคน เช่น กรณีของนายทนง โพธิ์อ่าน
            ผู้น�าแรงงานที่หายตัวไปในปี ๒๕๓๔  หรือกรณีของนายกมล เหล่าโสภาพันธุ์ ซึ่งเคลื่อนไหวตรวจสอบข้อมูลที่ไม่โปร่งใส
                                          ๓๙
            เข้าข่ายทุจริตหลาย ๆ กรณี ในพื้นที่อ�าเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ได้หายตัวไปอย่างไร้ร่องรอยเมื่อวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
            ซึ่งหลักฐานที่เขารวบรวมได้ระบุชัดว่า มีความไม่โปร่งใสหลายประเด็น จนน�ามาซึ่งการร้องเรียนอีกหลายคดีเกี่ยวโยง
            ทั้งผู้รับเหมา เจ้าพนักงานเทศบาลเมืองบ้านไผ่ และเจ้าหน้าที่ต�ารวจ  เป็นต้น                               สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
                                                                    ๔๐
                     ๔. กรณีการสูญหายของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน อาทิ นายพอละจี รักจงเจริญ หรือบิลลี่ นักต่อสู้เพื่อสิทธิชุมชน
                                                          ๔๑
            ชาวกะเหรี่ยงที่หายตัวไป เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๗  กรณีของนายเด่น ค�าแหล้ ประธานโฉนดชุมชนโคกยาว ที่ได้ต่อสู้
            ในประเด็นที่ดินท�ากินซึ่งหายตัวไป เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๙ หลังเดินทางเข้าป่าเพื่อหาเก็บหน่อไม้ ๔๒




                     ๓๓  จาก ศาลจังหวัดยะลาสั่งให้สหกรณ์ครูยะลารับนายมะยาเต็ง มะรานอ กลับเป็นสมาชิกจ่ายเงินตามสิทธิฯ คดีแรกที่ผู้ถูกบังคับให้สูญหายได้รับสิทธิคุ้มครอง, โดย
            มูลนิธิผสานวัฒนธรรม, ๒๕๕๔, สืบค้นจาก https://voicefromthais.wordpress.com/2011/11/29/south-thailand-yala-court-orders-to-yala-teacher-collectives-to-
            pay-sufficient-benifit-to-mr-mayateh-missing-persons-family/                                           บทที่
                     ๓๔  จาก จี้ดีเอสไอสอบด่วน พยานปากเอกหายลึกลับ คดีต�ารวจใหญ่ซ้อมผู้ต้องหาปล้นปืน, โดย ประชาไท, ๒๕๕๒, สืบค้นจากhttps://prachatai.com/jour-  ๓
            nal/2009/12/27079
                     ๓๕  จาก ชาวบ้านยะลา ร้องดีเอสไอ สอบ ตชด. หลังสงสัย อุ้มชาวบ้านหาย ๒ คน, โดย ฐานข้อมูลข่าวจังหวัดชายแดนภาคใต้, ๒๕๕๔, สืบค้นจาก http://wbns.oas.
            psu.ac.th/shownews.php?news_id=106777
                     ๓๖  จาก จดหมายเปิดผนึก, โดย Human Rights Lawyers Association, ๒๕๕๔, สืบค้นจาก https://arar.facebook.com/naksit.org/posts/270016816400157
                     ๓๗  จาก ผสานวัฒนธรรม’ ร้องสตช. เร่งสืบการหายตัวของ ‘ฟาเดล เสาะหมาน’ หลังผ่านไป ๓ เดือนไม่คืบ, โดย ประชาไท, ๒๕๕๙, สืบค้นจาก https://prachatai.
            com/journal/2016/03/64850
                     ๓๘  รายงานผลการพิจารณาค�าร้องเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง สิทธิและเสรีภาพใน
            ชีวิตและร่างกาย สิทธิในกระบวนการยุติธรรม เสรีภาพในเคหสถาน สิทธิในเกียรติยศชื่อเสียงและความเป็นอยู่ส่วนตัว และสิทธิในเกียรติยศชื่อเสียงและความเป็นอยู่ส่วนตัว และ
            สิทธิในทรัพย์สิน กรณีการด�าเนินนโยบายของรัฐบาลในการประกาศสงครามต่อสู้เอาชนะยาเสพติด เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชนและส่งผลกระทบด้าน
            สิทธิมนุษยชนในวงกว้าง
                     ๓๙  จาก ย้อนรอยคนไทยที่ (ถูกอุ้ม) หายไป, สืบค้นเมื่อ ๒๕๖๐ จาก http://www.gqthailand.com/mobile/life/view/?url=enforced-disappearance
                     ๔๐   จาก ๒ ปีคดีอุ้ม “กมล เหล่าโสภาพันธ์”ไม่คืบ วิถีชีวิตลูก-เมียเปลี่ยน/เปิดร้านข้าวมันไก่, สืบค้นเมื่อ ๒๕๖๐ จากhttp://www.manager.co.th/Local/ ViewNews.
            aspx?NewsID=9530000017958
                     ๔๑  จาก ๒ ปี การหายตัวไปของบิลลี่ กับสถานการณ์การอุ้มหายในไทย, โดย Isranews ๒๕๕๙, สืบค้นจาก https://www.isranews.org/thaireform-doc-politics/
            46288-artical_462883.html
                     ๔๒  จาก พบหัวกะโหลกมนุษย์ อาจเชื่อมโยงการหายตัวของ ‘เด่น คาแหล้’, โดย ประชาไท, ๒๕๖๐, สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2017/03/70742


                                     รายงานผลการประเมินสถานการณ์  69  ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75