Page 226 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 226
แผนภูมิที่ ๕ แรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานในประเทศไทย ปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๘
แรงงานตางดาวถูกกฎหมาย
แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย
คน
๒,๐๐๐,๐๐๐ รวม
๑,๗๕๐,๐๐๐
๑,๕๐๐,๐๐๐
๑,๒๕๐,๐๐๐
๑,๐๐๐,๐๐๐
๗๕๐,๐๐๐
๕๐๐,๐๐๐
๒๕๐,๐๐๐
๐ พ.ศ.
ที่มา: ส�านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเฉพาะ
นอกจากนี้ เมื่อจ�าแนกตามสัญชาติของแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�างานในประเทศไทย เมื่อปี ๒๕๕๘ จะพบข้อมูล
ของ ๕ ล�าดับ ของกลุ่มที่เข้าเมืองถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย รายละเอียดตามตารางที่ ๑๑
ตารางที่ ๑๑ แรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ลำ ดับ แรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำ งานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร
บทที่
ถูกกฎหมาย ผิดกฎหมาย ๖
สัญชาติ จำ นวน (คน) สัญชาติ จำ นวน (คน)
๑ เมียนมา ๙๙๒,๙๘๓ ไทยใหญ่ ๑๔,๕๙๐
๒ กัมพูชา ๒๑๐,๒๐๗ เมียนมา ๓,๖๒๔
๓ ลาว ๖๗,๙๘๐ กะเหรี่ยง ๒,๙๘๒
๔ ญี่ปุ่น ๓๖,๖๖๖ มอญ ๑,๑๒๒
๕ จีน ๑๘,๘๑๒ ไทยลื้อ ๑,๐๘๔
ที่มา: ส�านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
มีข้อมูลจากรายงานวิจัยที่ได้ระบุถึงปัญหาของแรงงานข้ามชาติในประเทศที่ส�าคัญ
ดังนี้ (๑) การจดทะเบียนและการขอรับใบอนุญาตท�างานของแรงงานข้ามชาติ
ไม่ทั่วถึงและไม่เข้าถึงแรงงานข้ามชาติ (๒) การพิสูจน์สัญชาติของแรงงานข้ามชาติ
ไม่เข้าถึงแรงงานข้ามชาติและมีค่าใช้จ่ายสูง (๓) การจดทะเบียนและการพิสูจน์สัญชาติ
ของผู้ติดตามไม่ทั่วถึงและไม่เข้าถึง อีกทั้งมีข้อจ�ากัดอยู่มาก (๔) มีการใช้แรงงานเด็ก
อย่างผิดกฎหมาย (๕) นโยบายการศึกษาถ้วนหน้าไม่เข้าถึงและไม่เหมาะสมส�าหรับ
ผู้ติดตามแรงงานข้ามชาติที่เป็นเด็ก (๖) เกิดขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานฯ
และขบวนการนายหน้า (๗) ไม่ได้รับการเคารพสิทธิในการเลือกท�างานโดยเสรี (๘) พบสภาพการท�างานที่ไม่ปลอดภัยและ
การถูกลิดรอนสิทธิในเงินทดแทน (๙) ถูกลิดรอนสิทธิในสุขภาพ (๑๐) ถูกลิดรอนสิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ๔๗๗
๔๗๗ จาก รายงานการวิจัย เรื่อง นโยบายและมาตรการการแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติของคณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชนชาติ ผู้ไร้สัญชาติ แรงงานข้ามชาติและผู้พลัดถิ่น,
โดย คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชนชาติ ผู้ไร้สัญชาติ แรงงานข้ามชาติและผู้พลัดถิ่น สภาทนายความ, ๒๕๕๔, กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชนชาติ.
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ 225 ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙