Page 219 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 219

แผนภาพที่ ๓ ผู้สูงอายุในประเทศไทยยังเป็นผู้ที่มีรายได้ต�่ากว่าเส้นความจน


                        เสนความยากจน

                                                                ป 2554             ป 2557
                                            ป 2545
                                                                33.8%               34.3%
                                            46.5%
                                                                           ป 2557

                                                                           ผูสูงอายุมีรายไดตํ่า
                                                                          กวาเสนความยากจน
                                            ถึงรอยละ 34 (หรือตํ่ากวา 2,647 บาท/คน/เดือน)


                 ที่มา: ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส)

                 นอกจากนี้ แหล่งรายได้หลักในการด�ารงชีวิตของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ยังมาจากการได้รับจากบุตร ร้อยละ ๓๖.๗
        รองลงมา คือ รายได้จากการท�างานของผู้สูงอายุเอง ร้อยละ ๓๓.๙ เบี้ยยังชีพจากราชการ ร้อยละ ๑๔.๘ เงินบ�าเหน็จ
        บ�านาญ ร้อยละ ๔.๙ คู่สมรส ร้อยละ ๔.๓ ดอกเบี้ยเงินออมและการขายสินทรัพย์ที่มีอยู่ ร้อยละ ๓.๙   รายละเอียดแผนภาพที่ ๔
                                                                                      ๔๔๗


        แผนภาพที่ ๔ แหล่งรายได้หลักในการด�ารงชีวิตของผู้สูงอายุ






              36.7%
             ไดรับจากบุตร                                                                    55.8%
                                                                                              ตองพึ่งพิง
                                                              33.9%                           รายไดจากผูอื่น

                                                              รายไดจากการทํางาน
                                                              ของผูสูงอายุเอง



                                                            3.9%
                   14.8%                                    ดอกเบี้ยเงินออม                   34%
               เบี้ยยังชีพจากราชการ                         และการขายสินทรัพยที่มีอยู       ยังตองทํางาน
                                   4.9%       4.3%   1.5%                                     หารายไดเอง
                             เงินบําเหน็จบํานาญ  จากคูสมรส  อื่นๆ

                 ที่มา: นิภาพันธ์ พูนเสถียรทรัพย์. “คนไทยจนตอนแก่ปัญหาใหญ่ระดับชาติ”. (ธนาคารไทยพาณิชย์)  ๔๔๘


                 การคุ้มครองทางสังคมของผู้สูงอายุ  (Social protection) ปี ๒๕๕๙ มีผู้สูงอายุได้รับเบี้ยยังชีพ จ�านวน
                                               ๔๔๙
        ๘,๐๒๑,๘๕๓ คน เป็นเงินงบประมาณ ๖๓,๒๑๙.๔๔ ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจาก ปี ๒๕๕๘ ที่มีผู้สูงอายุรับเบี้ยยังชีพ จ�านวน

        ๗,๗๔๙,๑๓๘ คน เป็นเงินงบประมาณ ๖๑,๘๗๙.๒๘ ล้านบาท ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑



                 ๔๔๗  จาก การส�ารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ของ (The 2014 Survey of the older persons in Thailand, โดย ส�านักงานสถิติแห่งชาติ, กรุงเทพฯ:
        ส�านักงานสถิติแห่งชาติ
                 ๔๔๘  จาก คนไทย จนตอนแก่ปัญหาใหญ่ระดับชาติ, โดย นิภาพันธ์ พูนเสถียรทรัพย์, สืบค้นจาก http://www.scb.co.th/line/tip/money-plan.html
                 ๔๔๙  หมายถึง การด�าเนินงานเพื่อให้ความคุ้มครอง หรือให้หลักประกันทางสังคมในด้านต่าง ๆ อาทิ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ระบบประกันสังคม และบริการสังคม
        โดยให้ความส�าคัญแก่กลุ่มประชากรที่ยากจน และด้อยโอกาส เพื่อให้ได้รับสิทธิทางสังคม อันเป็นความร่วมมือด�าเนินงานระหว่างภาครัฐและเอกชน. (อรจิตต์บ�ารุงสกุลสวัสดิ์.เวที
        ภาคประชาชนเรื่อง “ฐานความคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทย”)


                                 รายงานผลการประเมินสถานการณ์  218  ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224