Page 200 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 200

เป็นต้น แต่เนื่องจากปัจจัยที่ส่งผลให้เด็กเสียชีวิตจากการจมน�้า ส่วนใหญ่เกิดจากการปล่อยปละละเลยของผู้ปกครอง
            ซึ่งรัฐจ�าเป็นต้องมีมาตรการหรือแนวทางในการสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองให้ความส�าคัญกับการดูแลเด็ก

            และตระหนักถึงผลกระทบจากการปล่อยปละละเลยเด็กเพิ่มมากขึ้น อาทิ การรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
            เช่น ผู้ปกครอง ครู ชุมชน และการรณรงค์ให้มีการป้องกันเด็กออกจากแหล่งน�้าที่เป็นจุดเสี่ยงบริเวณบ้าน หรือชุมชน เป็นต้น


                     อุบัติเหตุทางถนน จากข้อมูลสถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนรายงานว่า เด็กช่วงอายุ ๑๐ - ๑๔ ปี เป็นช่วงที่มี
            อัตราการเสียชีวิตมากที่สุดนั้นพบว่า ปัจจัยส�าคัญปัจจัยหนึ่งที่เป็นสาเหตุของปัญหาคือ การขาดทักษะในการใช้รถใช้ถนนของ

            เด็ก เนื่องจากปัจจุบันเด็กมีรถจักรยานยนต์เป็นของตนเองตั้งแต่อายุยังน้อย โดยที่ไม่ได้รับการอบรมวิธีการใช้รถใช้ถนนอย่าง
            ถูกต้องและปลอดภัย ซึ่งพ่อแม่ ผู้ปกครอง ควรให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนแก่เด็กอย่างถูกวิธี นอกจากนี้
            ในส่วนของสถานศึกษา รัฐควรมีมาตรการส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการใช้รถใช้ถนนมากยิ่งขึ้น เช่น การฝึกอบรมวินัยในการ

            ใช้รถใช้ถนน การขับขี่อย่างปลอดภัย เป็นต้น


                                                                          อุบัติเหตุจากรถรับส่งนักเรียน จากสถานการณ์ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเฉพาะ
                                                                 อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น แม้ว่ารัฐจะได้เพิ่มมาตรการการแก้ไข
                                                                 อุบัติเหตุจากการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ ซึ่งระบุ

                                                                 ให้เพิ่มมาตรการที่จะเป็นการป้องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุขึ้น
                                                                 ทั้งในส่วนของการคัดเลือกรถที่จะน�ามาใช้ การให้บุคลากร
                                                                 ของสถานศึกษาตรวจสอบความเรียบร้อยของรถก่อนใช้งาน

                                                                 การตรวจสอบพนักงานขับรถ การเลือกเวลาในการเดินทาง   บทที่
                                                                                                                    ๖
                                                                 โดยหลีกเลี่ยงการเดินทางในช่วงเวลากลางคืน ตลอดจนการมี
                                                                 ผู้ควบคุมดูแล ไม่ให้นักเรียนนั่งเกินจ�านวนที่นั่งของรถ
                                                       ๓๗๘
            การรัดเข็มขัดนิรภัย รวมถึงการดูแลพนักงานขับรถ  อย่างไรก็ดี ยังพบว่ามีบางสถานศึกษาหรือผู้ประกอบการรถรับส่ง
            นักเรียนบางรายที่ยังไม่ปฏิบัติตามมาตรการดังกล่าว



            ๕) สถานการณ์เด็กกับสื่อออนไลน์
                     จากแนวโน้มสถิติการใช้อินเทอร์เน็ตในกลุ่มเด็กที่เพิ่มมากขึ้น ตลอดจนการเข้าถึงสิ่งยั่วยุหรือสื่อที่เป็นอันตรายต่อเด็ก

            สามารถท�าได้ง่ายและยากต่อการควบคุมจึงเกิดข้อกังวลว่า สื่อออนไลน์อาจจะส่งผลกระทบต่อเด็กในด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน
            พฤติกรรม ปัญหาความรุนแรง ปัญหาการพนัน และปัญหาด้านเพศ เป็นต้น ซึ่งรัฐควรให้ความส�าคัญกับการมีมาตรการเชิงบวก
            ในการป้องกันเด็กจากภัยของสื่อออนไลน์ และควรมีแนวทางในการควบคุมสื่อที่ไม่เหมาะสมส�าหรับเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
            นอกจากนี้ ผู้ปกครองยังเป็นผู้ที่มีบทบาทหลักในการให้ค�าแนะน�าหรือท�าความเข้าใจต่อเด็กในการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างรู้เท่าทัน
            และสามารถเป็นที่ปรึกษาในกรณีที่เด็กประสบปัญหาจากการใช้สื่อออนไลน์ได้



            ๖) สถานการณ์ของเด็กเคลื่อนย้ายและเด็กที่เป็นบุตรของแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
                     จากข้อกังวลของคณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติต่อแนวโน้มในการเพิ่มขึ้นของแรงงานต่างด้าว และข้อเสนอ

            ให้ด�าเนินการประเมินความเสี่ยงต่อการส่งกลับของแรงงานและบุตรนั้น รัฐยังไม่มีการด�าเนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม
            ทั้งนี้ รัฐควรมีมาตรการในเชิงความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านที่เป็นประเทศต้นทางของเด็กในการสร้างระบบการติดตาม
            เพื่อให้ทราบถึงสถานะและที่อยู่ของเด็กภายหลังการส่งกลับ และรัฐควรมีแนวทางในการพัฒนาเด็กกลุ่มนี้ให้สามารถด�าเนินชีวิต
            ได้ด้วยตนเองเมื่อถูกส่งกลับไปยังประเทศต้นทาง เพื่อป้องกันปัญหาการลักลอบกลับเข้ามาซ�้า ในส่วนของเด็กที่เป็นบุตรของ
            แรงงานโยกย้ายถิ่นฐานและอาศัยอยู่ในประเทศไทย แม้ว่ารัฐจะมีมาตรการในเชิงส่งเสริมการเข้าถึงสวัสดิการขั้นพื้นฐาน


                     ๓๗๘  หนังสือส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๐๑/๑๙๖๖ ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ เรื่อง ข้อเสนอมาตรการเพิ่มความปลอดภัยส�าหรับรถรับส่งนักเรียน

                                     รายงานผลการประเมินสถานการณ์  199  ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205