Page 195 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 195

๑.๒) การจัดท�าร่างพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริม
        การตลาดอาหารส�าหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์

        ที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. ....
                     รัฐได้อนุมัติร่างพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริม
        การตลาดอาหารส�าหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
        พ.ศ. .... โดยเป็นกฎหมายที่มุ่งควบคุมและก�ากับการโฆษณา
        ผลิตภัณฑ์ทดแทนนมแม่  ทั้งในส่วนของการให้ข้อมูล  และ

        การส่งเสริมการตลาด  ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณา
        ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ๓๖๖



                 ๑.๓) การจัดท�าระบบข้อมูลติดตามนักเรียน
                     รัฐได้จัดท�าระบบข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนติดตามนักเรียนให้กลับมาเรียน และมีแผนในการส�ารวจข้อมูลนักเรียน
        ออกกลางคันรายบุคคลและรายจังหวัด ส�าหรับวิเคราะห์ปัญหาเด็กกลุ่มเสี่ยง จ�าแนกตามสาเหตุ เพื่อป้องกันปัญหา รวมถึงอยู่ระหว่าง
        ด�าเนินการจัดท�าระบบฐานข้อมูลตัวเลขเด็กที่ต้องเข้าเรียนตั้งแต่อายุ ๓ ขวบ เด็กที่ไม่เข้าเรียนการศึกษาภาคบังคับ และเด็กที่ออก
        กลางคัน เพื่อน�ามาวิเคราะห์สังเคราะห์หาสาเหตุและอุดช่องว่างในการติดตามเด็กเมื่อออกไปจากโรงเรียน ๓๖๗



                 ๑.๔) การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
                     รัฐได้อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. แก้ไขเพิ่มเติมโทษความผิด

        ที่กระท�าต่อแรงงานเด็ก เพื่อเป็นการป้องกัน ยับยั้ง และขจัดปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงานที่เป็นนโยบายที่ส�าคัญ
        และเร่งด่วนของรัฐบาล ตลอดจนเป็นการอนุวัติการบทบัญญัติเกี่ยวกับบทลงโทษในความผิดที่กระท�าต่อเด็กให้เหมาะสม
        และประกันให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ  ๓๖๘


                 ๑.๕) การขยายการให้บริการของศูนย์เพื่อให้ความช่วยเหลือเด็กที่ได้รับผลกระทบจากการกระท�ารุนแรง

                     รัฐมีแผนด�าเนินการขยายการให้บริการของศูนย์เพื่อให้ความช่วยเหลือเด็กที่ได้รับผลกระทบจากการ
        กระท�ารุนแรง โดยกระจายศูนย์ฯ ดังกล่าวไปยังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลจ�านวน ๙,๗๕๐ แห่ง เพื่อท�าหน้าที่เป็นหน่วย
        รับแจ้งเหตุ คัดกรอง และส่งต่อผู้ที่ประสบปัญหา รวมถึงขยายโครงการการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานคุ้มครองเด็กของ

        หน่วยงานด้านสาธารณสุข และแนวทางการส่งต่อในเครือข่ายระดับจังหวัดไปในสถานบริการทั้ง ๑๒ เขตสุขภาพ เพื่อช่วยเหลือ
        ฟื้นฟู และเยียวยาเด็กที่ถูกกระท�ารุนแรง


                 อย่างไรก็ดี ในปี ๒๕๕๙ ยังพบสถานการณ์ที่น่ากังวลหลายประการ ดังนี้
                 ๑.๖) สถานการณ์การเสียชีวิตของเด็กจากการจมน�้า อุบัติเหตุทางถนน และอุบัติเหตุจากรถรับส่งนักเรียน

                     จากข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุจมน�้า และอุบัติเหตุทางถนนปี ๒๕๕๙ พบว่า จ�านวนการเสียชีวิตจากการ
        จมน�้าของเด็กอายุต�่ากว่า ๑๕ ปี ยังคงสูงถึง ๖๙๙ คน (แม้จะลดลงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๘ และ ๒๕๕๗ ซึ่งมีจ�านวน ๗๑๒ คน
                              ๓๖๙
        และ ๘๑๒ คนตามล�าดับ)  โดยช่วงปิดเทอมระหว่างเดือนมีนาคม -พฤษภาคม พบว่า มีจ�านวนเด็กเสียชีวิตจากการจมน�้า
        จ�านวน ๑๙๗ คน (ลดลงเมื่อเทียบกับในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา  ที่มีเด็กจมน�้าเสียชีวิตเฉลี่ย ๓๔๘ คน โดยที่ในบางปีมีจ�านวนสูงถึง
        เกือบ ๔๕๐ คน) ๓๗๐

                 ๓๖๖  จาก ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ ฯ ดังกล่าวแล้ว เมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐
                 ๓๖๗  จาก ศธ. ประชุมแก้ปัญหาเด็กออกกลางคัน, โดย ส�านักงานรัฐมนตรี, สืบค้นจากhttp://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=45528& Key=news_act
                 ๓๖๘  จาก พระราชบัญญัติฯ ดังกล่าวมีสาระส�าคัญในการเพิ่มอัตราโทษความผิดที่กระท�าต่อแรงงานเด็ก ๓ ฐาน คือ การจ้างเด็กอายุต�่ากว่า ๑๘ ปีส�าหรับงานอันตราย
        หรือสถานที่ห้ามท�างาน และการจ้างเด็กอายุต�่าของเด็กไม่เกิน ๑๕ ปี, สืบค้นจาก http://library2.parliament.go.th/giventake/content_nla2557/d111759-08.pdf
                 ๓๖๙  กระทรวงสาธารณสุข
                 ๓๗๐  จาก ปี ๒๕๕๙ เด็กจมน�้าเสียชีวิต ๖๙๙ คน, โดย ประชาไท, สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2017/03/70404


                                 รายงานผลการประเมินสถานการณ์  194  ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200