Page 124 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 124

ระบบเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มลดลงจนถึงปี ๒๕๕๙ จากแนวนโยบายของภาครัฐที่ต้องการผลักดันผู้ท�างานในตลาดแรงงานให้
            เข้าสู่ระบบ รายละเอียดตามตารางที่ ๒ และแผนภาพที่ ๑



            ตารางที่ ๒ จ�านวนผู้มีงานท�า จ�าแนกแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ปี ๒๕๕๗ - ๒๕๕๙
                                                                                                    หน่วย : ล้านคน

                   จำ นวนแรงงาน                ๒๕๕๗                      ๒๕๕๘                     ๒๕๕๙
             เป็นผู้มีงานท�า                    ๓๘.๔                     ๓๘.๓                     ๓๘.๓

             แรงงานในระบบ                       ๑๖.๓                     ๑๖.๙                     ๑๗.๐

             แรงงานนอกระบบ                      ๒๒.๑                     ๒๑.๔                     ๒๑.๓

                     ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ


            แผนภาพที่ ๑ เปรียบเทียบร้อยละของแรงงานในระบบและนอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙


              รอยละ
               ๗๐.๐
                                                                     ๕๗.๖          ๕๕.๙          ๕๕.๖
                           ๖๒.๖          ๖๒.๗         ๖๔.๓




               ๓๕.๐                                                  ๔๒.๔          ๔๔.๑          ๔๔.๔                สถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
                           ๓๗.๔          ๓๗.๓          ๓๕.๗




                                              แรงงานในระบบ             แรงงานนอกระบบ
                ๐.๐
                          ๒๕๕๔           ๒๕๕๕          ๒๕๕๖          ๒๕๕๗          ๒๕๕๘          ๒๕๕๙      พ.ศ.


                     ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ                                                                บทที่
                                                                                                                    ๔

                     คณะกรรมการประจ�ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ได้มีข้อสังเกตเชิงสรุป
            ต่อรายงานการปฏิบัติงานฉบับที่ ๑ และ ๒ ของประเทศไทย ตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
            (E/C.๑๒/THA/CO/๑-๒) ในการประชุมครั้งที่ ๒๘ – ๓๐  ระหว่าง วันที่ ๔ – ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘ ซึ่งได้รับรองรายงานในการ
                                                         ๒๑๑
            ประชุมสมัยที่ ๕๐ เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ โดยได้แสดงถึงความกังวลต่อสถานการณ์ด้านสิทธิแรงงานในประเทศไทย กล่าวคือ

            เรื่องสภาพการท�างานและหลักประกันสังคมของคนท�างานบางกลุ่ม เช่น คนงานนอกระบบ คนท�างานบ้าน คนงานเหมาช่วง เป็นต้น
            อาจไม่สามารถเข้าถึงสิทธิในการท�างานอย่างเต็มที่ และได้รับการคุ้มครองทั้งด้านกฎหมายและสังคม รวมไปถึงช่องว่างทางกฎหมาย
            ที่ส่งผลกระทบต่อผู้หญิง การใช้แรงงานบังคับ ซึ่งยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในประเทศ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมประมง ค่าจ้างขั้นต�่า












                     ๒๑๑  E/C.12/2015/SR.28, 29 และ 30)


                                     รายงานผลการประเมินสถานการณ์  123  ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129