Page 116 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 116

เฉลี่ยต่อหัวของระบบสวัสดิการข้าราชการเฉลี่ยสูงถึง ๔.๕ เท่า เมื่อเทียบกับอัตราเฉลี่ยต่อหัวของระบบหลักประกันสุขภาพ
            แห่งชาติและระบบประกันสังคม และกฎหมายก�าหนดให้ผู้ประกันตนตามระบบประกันสังคมต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน

                                                                                                              ๑๗๕
            จึงจะเกิดสิทธิ ในขณะที่ไม่พบกฎหมายดังกล่าวในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และระบบสวัสดิการข้าราชการ
            ซึ่งข้อเท็จจริงเหล่านี้อาจเป็นสาเหตุน�าไปสู่ความเหลื่อมล�้าหรือความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพ รวมถึง
            อาจกลายเป็นการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งสถานะทางเศรษฐกิจได้ ดังนั้น นักวิชาการได้พยายามที่จะเสนอกลไกกลางให้กับรัฐ
            เพื่อลดความเหลื่อมล�้าในการบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าทั้งสามระบบ โดยเสนอยกร่างพระราชบัญญัติ
            สร้างความกลมกลืนในระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ พ.ศ. …. เพื่อก�าหนดแนวทางพัฒนาระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ

                                                                                                              ๑๗๖
            โดยมีกลไกกลางมาร่วมกันก�าหนดสิทธิประโยชน์กลางเพื่อให้การเข้าถึงการบริการสาธารณสุขทั้งสามระบบมีความเท่าเทียมกัน

                     ในประเด็นเรื่องคุณภาพในการบริการสาธารณสุขของรัฐนั้น พบว่า มีเพียงร้อยละ ๔๖.๒๘ ของหน่วยบริการรับส่งต่อ

            เป็นโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐานโดยใช้กระบวนการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation)
            จากโรงพยาบาลที่ขอรับการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพจ�านวน ๑,๐๖๑ แห่ง นอกจากนี้ จากผลการประเมินหน่วยบริการ
            ในระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ พบว่า มีหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ ระดับประจ�า และระดับรับส่งต่อ ที่ผ่านเกณฑ์
            การประเมิน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๑๘, ๖๕.๗๕ และ ๘.๒๔ ตามล�าดับ และการเข้าถึงการบริการสาธารณสุข พบว่า โรงพยาบาล
            ของรัฐมีสัดส่วนจ�านวนเตียง คิดเป็น ๑.๙ ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน และหากเมื่อรวมกับจ�านวนเตียงในสถานพยาบาล

            ของเอกชน จะมีสัดส่วนเตียง ๒.๔ ต่อประชากร ๑,๐๐๐ และเมื่อหากเปรียบเทียบกับสัดส่วนจ�านวนเตียงของประเทศที่พัฒนาแล้ว
            อาทิ ประเทศญี่ปุ่นซึ่งมีสัดส่วนเตียง ๗.๙ ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน ประเทศไทยมีค่าต�่ากว่าถึงสามเท่า และยังพบว่า จ�านวน
            แพทย์ที่มีอยู่นั้นยังไม่เพียงพอกับความต้องการโดยรวมของประเทศซึ่งควรมีแพทย์ ๑ คน ต่อจ�านวนประชากร ๑,๕๐๐ -

            ๑,๘๐๐ คน โดยข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขในปี ๒๕๕๗ รายงานว่า ประเทศไทยมีแพทย์ ๑ คน ต่อประชากร ๒,๑๒๕ คน
            กรุงเทพมหานคร มีสัดส่วนแพทย์ ๑ คน ต่อประชากร ๗๒๒ คนและสูงกว่าสัดส่วนในภูมิภาคอื่น ๆ เช่น ภาคเหนือ แพทย์ ๑ คน  สถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
            ต่อประชากร ๑,๙๖๘ คน ภาคกลาง แพทย์ ๑ คน ต่อประชากร ๒,๕๖๕ คน ภาคใต้ แพทย์ ๑ คน ต่อประชากร ๒,๖๑๙ คน และ
                                                               ๑๗๗
            ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แพทย์ ๑ คน ต่อประชากร ๓,๔๙๑ คน  และถึงแม้ว่าร้อยละ ๕๗ ของแพทย์ที่มีอยู่เป็นแพทย์ในสังกัด
            กระทรวงสาธารณสุข แต่ต้องให้บริการร้อยละ ๘๐ ของประชากรทั้งหมด ในขณะที่แพทย์ร้อยละ ๒๑ ท�างานในโรงพยาบาลเอกชน

            ดังนั้น แนวคิดในการพัฒนาคุณภาพและการเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพที่ยั่งยืนนั้น ไม่เพียงแต่มุ่งเน้นไปที่สิทธิของผู้ป่วย
            เท่านั้น แต่ต้องให้ความส�าคัญในการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านสาธารณสุขอีกด้วย โดยต้องพิจารณาอัตราการคงอยู่
                                                          ๑๗๘
            ของบุคคลด้วยระบบค่าตอบแทนและแรงจูงใจที่เหมาะสม  โดยที่ผ่านมา มีแพทย์เฉลี่ยปีละ ๕๐๐ คน ออกจากโรงพยาบาลของ  บทที่
            รัฐไปสู่โรงพยาบาลเอกชน ทั้งนี้ เนื่องจากการขยายตัวอย่างกว้างขวางของโรงพยาบาลเอกชน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเจริญ   ๔
            ทางเศรษฐกิจ โดยในปี ๒๕๕๖ มีโรงพยาบาลเอกชน ๓๕๓ แห่งทั่วประเทศ เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครมีโรงพยาบาลเอกชน
                     ๑๗๙
             ๑๐๗ แห่ง  ซึ่งส�านักงานสถิติแห่งชาติได้ส�ารวจค่าตอบแทนของแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนเมื่อปี ๒๕๕๔ พบว่า แพทย์ทั่วไป
            มีอัตราค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนสูงสุดที่ ๑๐๘,๓๕๐ บาท และแพทย์เฉพาะทางมีอัตราค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อเดือนสูงสุดที่
            ๑๖๙,๔๘๓ บาท
                          ๑๘๐


                     สิทธิด้านสุขภาพของกลุ่มประชากรเปราะบาง จากการศึกษาวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวง
            สาธารณสุข เสนอให้รัฐบาลก�าหนดนโยบายสาธารณะที่ชัดเจนส�าหรับประชากรกลุ่มชายชอบ เช่น คนยากจน คนไร้รัฐ

            กลุ่มชาติพันธุ์ แรงงานข้ามชาติ ผู้ใช้ยาเสพติด เป็นต้น กลุ่มประชากรซึ่งมีข้อจ�ากัดในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ เช่น
            ผู้ไม่มีหลักประกันสุขภาพ และประชากรซึ่งมีถิ่นที่อยู่อาศัยในพื้นที่ห่างไกล เป็นต้น และกลุ่มประชากรซึ่งมีความเสี่ยงต่อการ

                     ๑๗๕  จาก คลังเตรียมจัดแพคเกจคุมเบิกค่ารักษา “ข้าราชการ” ดึงบริษัทประกันบริหารงบ ๖ หมื่นล้าน-ยันไม่กระทบสิทธิเดิม, งานเดิม.
                     ๑๗๖  จาก เสนอ’กลไกกลาง’ลดเหลื่อมล�้า ๓ กองทุนสุขภาพภาครัฐ, ๒๕๕๙, สืบค้นจาก http://www.matichon.co.th/news/217573
                     ๑๗๗  จาก ระบบฐาน ข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต, ๒๕๕๙, สืบค้นจาก  http://communeinfo.com/paper/14
                     ๑๗๘  จาก ครม.ไฟเขียวแก้ ก.ม.คุ้มครองแรงงาน, ๒๕๕๙, สืบค้นจาก  http://www.prachatai.org/journal/2016/16/06/6675
                     ๑๗๙  จาก แพทย์ล้น-แพทย์ขาดแคลน, ๒๕๕๙, สืบค้นจาก  https://publichealthonline.wordpress.com/2016/01/28/แพทย์ล้น-แพทย์ขาดแคลน
                     ๑๘๐  สรุปข้อมูลเบื้องต้นการส�ารวจค่าตอบแทนภาคเอกชน ปี ๒๕๕๔, ส�านักงานสถิติแห่งชาติ แหล่งอ้างอิง  https://www.m- article_attach/12006/16270.pdf


                                     รายงานผลการประเมินสถานการณ์  115  ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121