Page 72 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 72
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
ดังนั้น เป็นกรณีที่หน่วยงำนซึ่งมีอ�ำนำจหน้ำที่โดยตรงได้ด�ำเนินกำรตำมอ�ำนำจหน้ำที่แล้ว จึงเห็นควรให้ยุติเรื่อง
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้พิจารณาค�าร้องและความเห็นของคณะอนุกรรมการฯ แล้วมีมติให้ยุติ
เรื่อง เนื่องจำกหน่วยงำนที่มีอ�ำนำจหน้ำที่โดยตรงได้ด�ำเนินกำรตรวจสอบและให้ควำมเป็นธรรมกับทุกฝ่ำยตำม
ข้อร้องเรียนทุกประเด็นแล้ว ทั้งนี้ ผู้ร้องสำมำรถใช้สิทธิด�ำเนินกำรตำมขั้นตอนที่กฎหมำยก�ำหนดได้
๓๒
ค�าร้องที่ ๒๖๑/๒๕๕๕: กรณีอ้างว่าถูกละเมิดสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
ผู้ร้องถูกจับกุมและถูกฟ้องร้องว่ามีความผิดต่อพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ และพระราชบัญญัติอาวุธ
ปืน อันประกอบด้วย ความผิดฐานเสพยาเสพติดประเภท ๑ ความผิดฐานมียาเสพติดประเภท ๑ ไว้ในครอบครอง
เพื่อจ�าหน่าย และความผิดฐานมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต ในวันที่ถูกจับกุม นางสาวเอ
(นามสมมุติ) พร้อมเพื่อนได้นัดหมายมาพบผู้ร้องที่บ้านพัก ผู้ร้องได้น�ายาไอซ์มาร่วมเสพกันทุกคน จากนั้นเวลา
ประมาณ ๐๓.๐๐ น. นางสาวเอขอตัวกลับและขอซื้อยาไอซ์ แต่ผู้ร้องปฏิเสธไม่ขายให้และออกมาส่งนางสาวเอ ขณะนั้น
เจ้าหน้าที่ต�ารวจได้เข้าท�าการจับกุมและตรวจค้นบ้านพัก และตรวจยึดทรัพย์สินผู้ร้องหลายรายการ ต่อมา
มีเจ้าหน้าที่ต�ารวจน�าบันทึกการตรวจยึดทรัพย์สิน โดยสาระส�าคัญตอนท้าย มีข้อความว่า “จากการสอบถามผู้ร้อง
ให้การรับสารภาพว่าเป็นทรัพย์สินที่ได้จากการจ�าหน่ายยาเสพติด (ยาไอซ์และยาอี) จริง” ผู้ร้องไม่ยอมลงลายมือชื่อ
เจ้าหน้าที่ต�ารวจจึงเขียนด้วยลายมือว่า ผู้ต้องหาไม่ยอมลงลายมือชื่อ
หลังจากผู้ร้องถูกควบคุมตัวอยู่ที่เรือนจ�ากลางอุดรธานี ประมาณ ๑ เดือน ศาลให้ประกันตัวออกมา ผู้ร้องได้
มาตรวจสอบทรัพย์สินที่โรงงานปรากฏว่าทรัพย์สินหายไปหลายรายการ และมีทรัพย์สินที่ไม่มีการลงบันทึกการ
ตรวจยึดสูญหายไปด้วย ผู้ร้องไปแจ้งความต่อสถานีต�ารวจภูธรหนองหานเพื่อเป็นหลักฐาน ต่อมา ผู้ร้องมอบหมาย
ให้ทนายความรวบรวมพยานหลักฐานต่อสู้คดี จึงได้พบว่าบันทึกการตรวจยึดทรัพย์สินที่ผู้ร้องไม่ยอมลงลายมือชื่อ
มีผู้ปลอมลายมือชื่อของผู้ร้อง โดยขีดฆ่า ค�าว่า “ผู้ต้องหาไม่ยอมลงลายมือชื่อออก” มีต�ารวจยศดาบต�ารวจเซ็น
ชื่อก�ากับไว้ ผู้ร้องจึงไปแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน สถานีต�ารวจภูธรหนองหาน ปรากฏว่าพนักงานสอบสวนลง
เป็นเพียงบันทึกประจ�าวันระบุว่า “ผู้แจ้งจะไปสืบหาและตรวจสอบว่าเจ้าหน้าที่ต�ารวจคนใดเป็นคนปลอมแปลง
ลายมือชื่อ เมื่อสืบหาได้แล้วจะมาแจ้งความร้องทุกข์กับพนักงานสอบสวนอีกครั้ง” ทั้งที่ผู้ร้องต้องการด�าเนินคดีกับ
ผู้ที่ปลอมลายมือชื่อผู้ร้องในบันทึกฯ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาค�าร้องเรียนแล้วเห็นว่าเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของ
บุคคลที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างเหมาะสมในการด�าเนินการตามกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งสิทธิที่จะให้คดีของ
ตนได้รับพิจารณาอย่างถูกต้อง รวดเร็วและเป็นธรรม อันเป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย จึงเป็นค�าร้องที่อยู่ในอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตาม
71