Page 68 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 68

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ






                     ๑) โรงเรียน ส. หรือต้นสังกัดปัจจุบันสมควรพิจารณาด�าเนินการในส่วนที่ผู้ร้องกล่าวอ้างว่าครูประจ�าชั้นกระท�า

                 ละเมิดทางวาจาต่อนางสาวเอ บุตรสาวผู้ร้อง ตามอ�านาจหน้าที่ หรืออ�านวยความยุติธรรมให้แก่ทุกฝ่าย
                     ๒) โรงเรียน ส. สมควรปรับปรุงสภาพแวดล้อม และอาคารสถานที่ของโรงเรียนให้มีความปลอดภัย เช่น ติดตั้ง

                 กล้องวงจรปิด (CCTV) การปรับปรุงห้องน�้า และบริเวณจุดเสี่ยงอื่น ๆ รวมถึงการบริหารจัดการเชิงระบบเพื่อสร้าง
                 มาตรการป้องกันเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยภายในโรงเรียน เป็นต้น
                     ๓) โรงเรียน ส. สมควรพิจารณามาตรการอื่นในการป้องกันไม่ให้เด็กหลบหนี และมีแผนป้องกันความเสียหายใน

                 ชีวิตและร่างกายกรณีเกิดเพลิงไหม้หรือเหตุฉุกเฉินอื่น รวมถึงการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) แทนการล็อคกุญแจ
                 ประตูของอาคารนอน
                     ๔) ส�านักบริหารการศึกษาพิเศษและกระทรวงศึกษาธิการให้ความส�าคัญกับการฝึกอบรมให้ความรู้  ปรับทัศนคติ

                 ให้กับครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา และแจ้งเจ้าหน้าที่ทุกคนรวมถึงพ่อแม่ผู้ปกครองให้ปฏิบัติต่อเด็กพิการอย่าง
                 ถูกต้อง เหมาะสม โดยค�านึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในสังคมเป็นส�าคัญ (รายงาน
                 ผลการพิจารณา ที่ ๔๙๔/๒๕๕๗)






                                                             ๒๙


                     ค�าร้องที่ ๗๔/๒๕๕๕: กรณีเกี่ยวข้องกับสิทธิของบุคคลในกระบวนการยุติธรรม


                     ผู้ร้องได้ร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ว่าผู้ร้องกับนายเอ (นามสมมุติ) ได้ทะเลาะวิวาทกัน

                 บริเวณลานจอดรถของโรงแรม อ. เมื่อวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๔ เป็นเหตุให้ผู้ร้องและนายเอ ได้รับบาดเจ็บ ต่อมา
                 พนักงานสอบสวน สถานีต�ารวจนครบาลลุมพินี ได้แจ้งข้อกล่าวหาต่อผู้ร้องว่าพยายามฆ่าผู้อื่น โดยไม่มีการแจ้งข้อ

                 กล่าวหานายเอ คู่กรณี ผู้ร้องเห็นว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม จึงขอให้ตรวจสอบ กรณีนี้ข้อเท็จจริงค�าร้องเป็นประเด็น
                 เกี่ยวกับสิทธิของบุคคลในกระบวนการยุติธรรม อันอยู่ในอ�านาจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตาม
                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๕๗ วรรคหนึ่ง (๑) ซึ่งมีผลบังคับอยู่ขณะตรวจสอบ

                 และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ คณะอนุกรรมการตรวจสอบ
                 การละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรมด�าเนินการตรวจสอบพบว่ามีประเด็นที่ต้องพิจารณา คือ
                 พนักงานสอบสวน สถานีต�ารวจนครบาลลุมพินี กระท�าหรือละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณี

                 สืบสวนคดีที่ผู้ร้องตกเป็นผู้ต้องหาด้วยความเป็นธรรมหรือไม่
                      คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาแล้วเห็นว่าในการสอบสวนคดีอาญา พนักงานสอบสวนต้องรวบรวมพยานหลัก
                 ฐานที่เกี่ยวกับคดี เพื่อเป็นการพิสูจน์ให้เห็นความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหา การแจ้งข้อกล่าวหาพนักงาน

                 สอบสวนสามารถใช้ดุลพินิจที่อยู่ภายใต้ข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานตามสมควร เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าเมื่อวันที่
                 ๖ มกราคม ๒๕๕๔ ต�ารวจไปถึงที่เกิดเหตุพบผู้ร้องยืนรอมอบตัว ส่วนนายเอถูกน�าตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลต�ารวจ

                 โดยพนักงานสอบสวนแจ้งข้อกล่าวหาแก่ผู้ร้องว่าท�าร้ายร่างกายผู้อื่น โดยที่ผู้ร้องให้ข้อเท็จจริงว่านายเอ ท�าร้ายผู้ร้อง
                 ก่อนผู้ร้องจึงท�าเพื่อป้องกันตัว พิจารณาแล้วค�าให้การของผู้ร้องต่อพนักงานสอบสวนไม่ปฏิเสธว่าผู้ร้องมิได้ท�าร้าย







                                                               67
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73