Page 97 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 97
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
3.1.11 General Comment No. 15 (2002) on the Right to Water (Arts. 11 and 12
19
of the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights)
เอกสารเรื่อง สิทธิในการเข้าถึงการอุปโภคและบริโภคน้ า เป็นเอกสารที่จัดท าขึ้นโดยองค์การ
สหประชาชาติในปี ค.ศ. 2002 เพื่อให้ข้อมูล ค าจ ากัดความและแนวทางปฏิบัติของภาครัฐเพื่อการปกป้อง
คุ้มครองและเติมเต็มสิทธิดังกล่าว รวมทั้งได้มีการน าเสนอบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศที่ให้ความส าคัญ
กับสิทธิประเภทนี้อีกด้วย
เอกสารได้แบ่งการน าเสนอออกเป็น 6 ส่วน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ส่วนที่ 1 น าเสนอความส าคัญของน้ าต่อการด ารงชีวิต ทั้งในแง่ของการอุปโภคและบริโภค โดยในด้าน
การบริโภคจะเป็นส่วนขยายเพิ่มเติมจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ปัจจัย (อาหาร เครื่องนุ่งห่ม และที่อยู่อาศัย) ส าหรับ
ด้านอุปโภคจะเน้นถึงการเข้าถึงน้ าเพื่อการผลิต อีกทั้งยังให้ความส าคัญกับคุณภาพของน้ าที่ได้มาตรฐานอีก
ด้วย
ส่วนที่ 2 อธิบายถึงสิทธิในการเข้าถึงการอุปโภคและบริโภคน้ าที่ควรจะเป็น ซึ่งแยกออกเป็น 3 หมวด
ที่ส าคัญ คือ การมีอยู่พร้อม (availability) คุณภาพ (quality) และ การเข้าถึง (accessibility) โดยในส่วนของ
การเข้าถึง ยังแบ่งออกเป็น 4 มิติที่ส าคัญ คือ การเข้าถึงทางด้านกายภาพ การเข้าถึงทางด้านเศรษฐกิจ การ
เข้าถึงแบบไม่เลือกปฏิบัติ และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
ส่วนที่ 3 ระบุถึงภารกิจของภาครัฐในการดูแลจัดการสิทธิ โดยแบ่งออกเป็น บทบาทในการเคารพ
(respect) ซึ่งหมายถึงการละเว้นปฏิบัติทั้งทางตรงและทางอ้อมที่จะเป็นการแทรกแซงไม่ให้ผู้บริโภคเข้าถึงการ
ใช้บริการ บทบาทในการปกป้อง (protect) ซึ่งหมายถึงการปกป้องคุ้มครองมิให้บุคคลภายนอกเข้ามา
แทรกแซงจนเกิดการจ ากัดสิทธิในการเข้าถึงบริการ และบทบาทในการเติมเต็ม ซึ่งแบ่งออกเป็น การให้ความรู้
ที่เหมาะสม การสนับสนุนธุรกิจให้มีการพัฒนาด้านคุณภาพของการให้บริการ รวมทั้งระบบจัดการน้ าเสีย และ
การเติมเต็มสิทธิให้ผู้ที่ด้อยโอกาสได้เข้าถึงการใช้บริการ
ทั้งนี้ ภาครัฐในส่วนนี้จะขยายความถึง รัฐวิสาหกิจด้วย โดยรัฐวิสาหกิจจะต้องค านึงถึงว่าแนวทางการ
ด าเนินการขององค์กรได้เคารพสิทธิดังกล่าวด้วยแล้ว
ส่วนที่ 4 อธิบายถึงการละเมิดสิทธิในการเข้าถึงการอุปโภคและบริโภคน้ าของภาครัฐ ซึ่งเกิดขึ้นได้จาก
กระท าโดยภาครัฐเอง และจากการที่ภาครัฐไม่ได้กระท า (เช่น การละเลยการปฏิบัติหน้าที่ หรือออกกฎหมาย
เพื่อคุ้มครองสิทธิที่ดีพอ)
19 Economic and Social Council. (2003). “General Comment No. 15 (2002) The Right to Water (Arts.
11 and 12 of the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights).” United
Nations.
3-27