Page 102 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 102

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                          -   การให้ข่าวสารข้อมูล การศึกษาและการจัดอบรม

                          -   การท าหน้าที่เป็นผู้ให้ค าปรึกษากับภาครัฐ องค์กรที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป
                          -   การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ องค์กรที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป


                       ข้อ 42 ก าหนดให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจัดท าแผนยุทธศาสตร์ และรายงานประจ าปี
               โดยแผนยุทธศาสตร์จะต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ในขณะที่รายงานประจ าปีจะต้องครอบคลุมถึงการ

               ประเมินเป้าหมาย และส่วนมุ่งเน้นในปีที่ผ่านมา และส่วนที่จัดท าและรายงานให้แก่รัฐ รวมทั้งผลการ

               ด าเนินงานของกิจกรรมต่างๆ ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้เสนอให้มีการด าเนินการในรอบปีที่
               ผ่านมา


                       ข้อ 43 ให้อ านาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการร้องขอความร่วมมือ และข้อมูลจาก
               หน่วยงานภาครัฐเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานตามกฎหมาย


                       ข้อ 44 ก าหนดขอบเขตการท างานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยก าหนดมิให้

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติใช้อ านาจเฉพาะในกรณีปัญหาใดปัญหาหนึ่ง แต่ให้อ านาจในการพิจารณา
               คดี และดึงข้อสรุปออกมาเป็นกรณีศึกษาทั่วไป


                       หมวดที่ 5 ให้ความคุ้มครองแก่เหยื่อแรงงานทาส ซึ่งรวมไปถึงการคุ้มครองพยาน การให้ความ
               ช่วยเหลือพิเศษแก่แรงงานทาสที่เป็นเด็ก


                       หมวดที่ 6 ออกกฎหมายเพื่อให้เกิดความโปร่งใสในห่วงโซ่อุปทานการผลิต (supply  chain) โดย
               ก าหนดให้ธุรกิจที่ภาครัฐก าหนด (เช่น ก าหนดรายได้ขั้นต่ า) ต้องจัดท าข้อความแถลง (statement) ซึ่งระบุถึง


                       -   โครงสร้างขององค์กร ลักษณะการท าธุรกิจ และธุรกิจในห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้อง

                       -   นโยบายของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการค้าแรงงานทาส
                       -   การด าเนินการของธุรกิจเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือแก้ไขปัญหาการค้าแรงงานทาสในธุรกิจเอง

                          และในห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้อง

                       -   ส่วนของธุรกิจ และห่วงโซ่อุปทานที่มีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดปัญหาแรงงานทาส
                       -   ประสิทธิผลของการด าเนินการของภาคธุรกิจ

                       -   การฝึกอบรมพนักงานเกี่ยวกับประเด็นแรงงานทาส

                       นอกจากนี้ ธุรกิจต้องท าการเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็ปไซด์ (ถ้ามี) หรือต้องตอบสนองต่อผู้ร้องขอ

               ข้อมูลภายใน 30 วันนับตั้งแต่มีการร้องขอ

                       หมวดที่ 7 เป็นหมวดที่แสดงถึงกฎระเบียบ และรายละเอียดอื่นๆ ซึ่งประกอบไปด้วย การก าหนดให้

               ภาครัฐต้องจัดท ารายงานเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มนักเลง ต่อปัญหาแรงงานทาส การให้ค าอธิบายเพิ่มเติม

               ส าหรับข้อกฎหมายในหมวดที่ผ่านๆ มา และประเด็นปลีกย่อยอื่นๆ





                                                           3-32
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107