Page 95 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 95

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                       ในส่วนของรัฐวิสาหกิจ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสามารถเข้ามาร่วมตรวจสอบว่า

               รัฐวิสาหกิจ มีการดูแลแรงงานที่เหมาะสม ทั้งในด้านการเงิน (ค่าตอบแทน) สภาพการท างาน การเลือกปฏิบัติ
               ในที่ท างาน และการรวมกลุ่มเพื่อต่อรองผลประโยชน์ตามสมควร


                       3.1.10  General Comment No. 14 (2000) on the Right to the Highest Attainable

               Standard of Health (Article 12 of the International Covenant on Economic, Social and

                               18
               Cultural Rights)

                       เอกสารเรื่อง สิทธิมนุษยชนด้านสุขภาพ เป็นเอกสารที่จัดท าขึ้นโดยองค์การสหประชาชาติในปี ค.ศ.

               2000 เพื่อให้ข้อมูล ค าจ ากัดความและแนวทางปฏิบัติของภาครัฐเพื่อการปกป้อง คุ้มครองและเติมเต็มสิทธิ
               ดังกล่าว รวมทั้งได้มีการน าเสนอบทบาทขององค์กรในประเทศและระหว่างประเทศที่ให้ความส าคัญกับสิทธิ

               ประเภทนี้อีกด้วย


                       เอกสารได้แบ่งการน าเสนอออกเป็น 6 ส่วน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                       ส่วนที่ 1 อธิบายถึงความส าคัญของสุขภาพต่อการด ารงชีวิตของประชาชน โดยการตีความทางด้าน

               สุขภาพแบบกว้างจะกระทบกับสิทธิมนุษยชนด้านอื่นๆ อีกมาก อาทิเช่น การเข้าถึงอาหาร สิทธิของแรงงาน
               สิทธืในการเข้าถึงการศึกษา เป็นต้น


                       ส่วนที่ 2 จ าแนกถึงสิทธิมนุษยชนทางด้านสุขภาพที่ควรจะเป็น โดยแบ่งออกเป็น 4 หมวด ได้แก่ การ
               มีอยู่พร้อม (availability)  การเข้าถึง (accessibility) ซึ่งหมายรวมถึง การไม่เลือกปฏิบัติ การเข้าถึงทาง

               กายภาพ การเข้าถึงทางด้านเศรษฐกิจ และการเข้าถึงทางด้านข้อมูลข่าวสาร การยอมรับ (acceptability) ซึ่ง

               หมายถึงการยอมรับในมาตรฐานจารีต วัฒนธรรมที่เหมาะสมของแต่ละสังคม และคุณภาพของการให้บริการ
               (quality) โดยในเอกสารได้ยกตัวอย่างถึงสิทธิทางด้านสุขภาพหลายตัวอย่าง เช่น สิทธิในสถานที่ท างานที่ดีต่อ

               สุขภาพ สิทธิในการรักษาพยาบาลยามฉุกเฉิน และสิทธิในระบบประกันสุขภาพ เป็นต้น

                       ส่วนที่ 3 น าเสนอบทบาทของภาครัฐในการดูแลจัดการสิทธิ ซึ่งแบ่งได้ออกเป็น 3 บทบาท ได้แก่

               บทบาทในการเคารพสิทธิ บทบาทในการปกป้องสิทธิ และบทบาทในการเติมเต็มสิทธิ ซึ่งทั้ง 3 บทบาทจะมี

               ค าอธิบายในลักษณะเดียวกันกับสิทธิการเข้าถึงการอุปโภคและบริโภคน้ า อย่างไรก็ดี ในเอกสารได้ให้ตัวอย่างที่
               น่าสนใจ คือ บทบาทของภาครัฐควรจะคุ้มครองในกรณีการโฆษณาด้านสุขภาพเกินจริงด้วย นอกจากนี้

               รัฐวิสาหกิจในการดูแลของรัฐจะต้องไม่ด าเนินธุรกิจที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งอากาศ น้ าและดิน






               18    Economic and Social Council. (2000). “General Comment No. 14 (2000) The Right to the Highest

                   Attainable Standard of Health (Article 12 of the International Covenant on Economic, Social
                   and Cultural Rights).” United Nations.



                                                           3-25
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100