Page 62 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 62

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               แค่ operator ส่วนมาก ซึ่ง กสม. ต้องเป็น Knowledge and Learning Organization แม้กระทั่งการจัดการ

               ข้อมูลก็ยังท าไม่ได้ การจะเป็นสถาบันแห่งชาติจะต้องสร้างและผลิตความรู้ให้เป็นและจัดการองค์ความรู้นั้น
               เพื่อขับเคลื่อนเป็นงานนโยบายและงานที่เป็นกิจวัตรประจ าวันขององค์กรได้ กสม. จะต้องท า Social

               marketing ให้เป็น เพื่อให้ข้อเสนอแนะของ กสม. ออกดอกออกผล น าไปสู่การปฏิบัติจริง

                      7.   กสม. จะต้องแยกหน่วยสร้างและผลิตความรู้ออกมาเฉพาะเพื่อท านโยบายที่ชัดเจน เหมือนเช่น

               สถาบันพระปกเกล้า เพื่อท าให้ กสม. แห่งนี้ไม่ได้ตบยุงทีละตัว แต่ขับเคลื่อนอย่างมีประเด็น

                      8.   วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)  เป็นยูโธเปีย เป็นเป้าหมายสูงสุด ทุกคนเชื่อว่าดี เป็นค ามั่น

               สัญญาทั่วโลก แต่ก็มีต้นทุนที่สูงมากเพื่อให้บรรลุในเป้าหมายนั้น โดยตนเชื่อว่าแผนกลยุทธ์สิทธิมนุษยชนและ

               การประกอบธุรกิจของ กสม. มีส่วนในการบรรลุเป้าหมายบางประการของ SDGs ได้

                      ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 8


                      1.   หลักการ UNGP และหลักการ UNGC เป็นหลักการที่ใหม่มาก และ กสม. ไม่รู้ว่าหลักการดังกล่าว
               จะถูกน ามาใช้และประเมินผลอย่างไร ในการส่งเสริมหลักการดังกล่าวไม่ควรจะเป็นหน้าที่ของ กสม. แต่เป็น

               หน้าที่ของสหประชาติในการรณรงค์ ประเทศไทยต้องให้ความส าคัญกับการด าเนินการตามหลักการ ขณะนี้

               ประเด็นละเมิดสิทธิมนุษยชนสูงสุดคือการละเมิดสิทธิชุมชน ชนพื้นเมืองถูกละเมิดสิทธิชุมชน และส านักงาน
               ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR)  ก็ให้ความส าคัญกับผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน กสม.

               ได้รับเรื่องร้องเรียนเหล่านี้เยอะมาก เรื่องดังกล่าวบางทีไม่ใช่การปะทะกันระหว่างชาวบ้านกับรัฐ แต่เป็น

               ชาวบ้านกับภาคเอกชนด้วยเช่นกัน อีกทั้งประเทศไทยไม่มีกฎหมาย Anti  SLAPP  จึงท าให้พบกรณีการแกล้ง
               ฟ้องกันอยู่


                      2.   การที่จะท าให้บริษัทเข้าใจหลักการเหล่านี้ หรือการน าไปสู่การเยียวยา เราไม่รู้ว่าจะต้องสูญเสีย
               กันไปอีกเท่าไหร่ ในประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ บางทีรัฐก็เข้ามาเป็นคู่ขัดแย้งเสียเอง กสม.

               สามารถส่งข้อเสนอแนะไปยังรัฐบาล แต่จะให้ กสม. ไปประชาสัมพันธ์หลักการสากลหรือไม่ สมควรหรือไม่ก็

               น่าคิดเช่นเดียวกัน

                      3.   เนื่องจาก กสม. ไม่ได้มีสหวิทยาทีม ดังนั้น ในประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจที่

               เกี่ยวข้อง หน่วยงานรับผิดชอบอื่นก็ควรจะเข้ามาด าเนินการในส่วนที่ กสม. ไม่มีหน้าที่ต้องท า

                      4.   การจัดสรรทรัพยากรของภาคเอกชน จะเข้ามาแย่งชิงจากชาวบ้าน กระทบต่อรูปแบบการใช้ชีวิต

               และการประกอบอาชีพ ซึ่ง กสม. ให้ข้อเสนอแนะต้องมีการเยียวยาไม่ว่าจะเป็นกระบวนการยุติธรรมใน

               ช่องทางศาล การขอโทษ การให้หลักประกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ าอีก การเยียวยาในรูปของตัวเงิน ฯลฯ โดย
               ภาครัฐก็รับฟัง แต่ภาคธุรกิจอาจจะไม่ให้ความสนใจเพียงพอ









                                                           2-38
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67