Page 59 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 59

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               เชิญประธาน UN  Working  Group  เข้าร่วมและลงนาม MOU  ว่าจะขับเคลื่อนหลักการดังกล่าวร่วมกัน

               ระหว่าง กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กสม.
               ตลอดจน AICHR รวมไปถึงการท าวิจัย เช่น งานวิจัย baseline study


                      4.   หลังจากเวทีนี้ กสม. จะมุ่งเน้นไปที่ภาคธุรกิจที่สร้างผลกระทบให้กับประชาชนมากที่สุด เช่น
               ธุรกิจไฟฟ้า ธุรกิจพลังงาน และสมาชิกใน UNGC  จะเข้ามาสังเกตการณ์แผน NAP  และติดตามข้อเสนอแนะ

               ของ กสม. ที่มีต่อรัฐบาลและภาคธุรกิจซึ่งได้ให้ค ามั่นว่าจะด าเนินการตามข้อเสนอแนะของ กสม.

                      5.   กสม. จะต้องระดมความคิดเห็นกับภาคธุรกิจ ว่ามีกฎหมายอะไรบ้างที่ท าให้ไม่สามารถคุ้มครอง

               สิทธิมนุษยชนได้ ตลอดจนการให้ความรู้กับหน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรมซึ่งมีความส าคัญเพราะ

               เชื่อมโยงกับการเยียวยา

                      6.   ในประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ กสม. บางท่านไม่เข้าใจเรื่องนี้ บางคนจะ

               ตรวจสอบการละเมิดสิทธิอย่างเดียว ไม่สนใจประเด็นการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ กสม.

               ยังคงไม่มีความเป็นอิสระอย่างจริงจัง เพราะยึดติดด้านงบประมาณและบุคลากร ตลอดจนระบบราชการไม่เอื้อ
               การท างานเชิงรุกและสูญเสียความคล่องตัว กสม. ควรจะต้องออกแบบระบบของตนเองได้อย่างเสรี มีความ

               ยืดหยุ่นสูง ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ร้องได้ตลอด 24 ชั่วโมง และควรจะต้องตั้งกลุ่มงานรับผิดชอบ

               สิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจโดยตรง และมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะและมี กสม. เข้ามาดูแล หรือจะเป็น
               ส านักขึ้นมาใหม่หากมีประเด็นที่ซับซ้อน หรือหากมีความจ าเป็นอาจจะมีการจัดตั้งสถาบันวิจัยและวิชาการด้าน

               สิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจขึ้นมา

                      ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 6


                      1.   ธุรกิจละเมิดสิทธิมนุษยชนประเด็นต่างๆ ที่ส าคัญ ได้แก่ การแย่งชิงฐานทรัพยากรธรรมชาติ การ
               ท าลายทรัพยากรธรรมชาติ การเอารัดเอาเปรียบแรงงาน ลูกค้าและคู่ค้า และการค้ามนุษย์ อย่างไรก็ดี

               หลักการ UNGP  ซึ่งก าหนดให้ต้องมีการเคารพ คุ้มครองและเยียวยาการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้นไม่ใช่หน้าที่

               ของ กสม. แต่เป็นของรัฐ โดย กสม. มีหน้าที่จะต้องเรียกร้องให้รัฐมีแผนงานที่จะต้องตอบสนองหลักการ
               ดังกล่าว และด าเนินการตรวจสอบตามอ านาจหน้าที่ของ กสม.


                      2.   ในประเด็นของการปกป้องตามหลัก UNGP กสม. ควรจะต้องไปตรวจสอบดูว่ามีการละเมิดสิทธิฯ

               หรือไม่ และหาแนวทางเยียวยา กรณีของบริษัทน้ ามันสัญชาติอังกฤษที่ท าให้น้ ามันรั่วไหลลงในมหาสมุทร
               สร้างความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม รัฐในประเทศนั้นก็ได้ปรับบริษัทและปิดบริษัทลงเพื่อเป็นการคุ้มครองและ

               ลงโทษ แต่กลับกันรัฐบาลไทยไม่ได้ด าเนินการในเรื่องของการคุ้มครอง (protect) และการเยียวยา (remedy)

               เหมือนกับกรณีดังกล่าวแต่อย่างใด การเติมเต็ม (fulfill)  คือ การสร้างกลไกมาควบคุมไม่ให้มาละเมิดสิทธิของ
               ภาคเอกชน เช่น กรณีเหมืองทองที่มีโปรแทสเซียมไซยาไนต์แพร่กระจายในดินและน้ า และชาวบ้านไปฟ้องศาล







                                                           2-35
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64