Page 58 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 58

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                      4.   การตรวจสอบและการเยียวยาท าได้โดยให้ กสม. ได้มีโอกาสสร้างกรอบเจรจากับฝ่ายบริหาร คือ

               คณะรัฐมนตรี และรัฐมนตรีในหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนั้นๆ โดยตรงเพื่อแจ้งสถานการณ์และสามารถให้
               ข้อเสนอแนะได้ในทันที


                      5.   กระบวนการไกล่เกลี่ยควรจะเป็นกระบวนการของศาลมากกว่า เพราะการละเมิดสิทธิมนุษยชน
               แก้ไขได้ยากด้วยการไกล่เกลี่ย การลงพื้นที่ที่เป็นเวทีกลางที่ท าให้ผู้ร้องและผู้ถูกร้อง (เช่น เวทีตามกลไก

               EIA/EHIA)  ได้มีโอกาสพบเจอและได้มีการไกล่เกลี่ย โดยทาง กสม. สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมและสังเกตการณ์

               ในประเด็นที่เกี่ยวกับการพิจารณาข้อเสนอแนะทางกฎหมายและนโยบาย

                      6.   การจัดล าดับความส าคัญ กสม. ควรจะสรุปรวบรวมค าร้องว่าภาคธุรกิจละเมิดสิทธิด้านไหน

               ส่งเสริมให้ภาครัฐออกนโยบายที่สอดคล้องกับ UNGP  และมีมาตรการลงโทษเพื่อสร้างวัฒนธรรมในการ
               ด าเนินการตาม นอกจากนี้ กสม. ควรเข้าไปสร้างเครือข่ายกับผู้ก ากับดูแลภาคธุรกิจ เช่น ก.ล.ต. สภา

               อุตสาหกรรม หอการค้า เป็นต้น


                      7.   ภาคเอกชนถ้าเคารพสิทธิมนุษยชนจะไม่มอง กสม. ในเชิงลบ แต่ด้วยทัศนคติที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
               ท าให้ความสัมพันธ์ระหว่าง กสม. กับภาคธุรกิจยังคงมีระยะห่างอยู่


                      ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 5

                      1.   ธุรกิจมีอ านาจและสามารถละเมิดสิทธิมนุษยชนได้เหมือนรัฐ สหประชาชาติจึงได้สร้างหลักการ

               UNGP  ด้วยเหตุดังกล่าว ท าให้ กสม. ทั่วโลกได้จัดประชุมเพื่อศึกษาบทบาทของ กสม. ขึ้นมา ที่ผ่านมา กสม.
               ได้ท าการแปลหลักการฯ และจัดท าวิจัยเพื่อส ารวจมาตรฐานในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และในปัจจุบัน สิทธิ

               ชุมชน และการละเมิดทุนไทยในประเทศเพื่อนบ้าน เป็นปัญหาส าคัญอย่างมาก และ กสม. ได้พยายาม

               ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง โดยยึดปฎิญญาเอดินเบอระ (Edinburgh     Declaration) และจัดให้มีการใช้
               กระบวนการไกล่เกลี่ยขึ้น พร้อมทั้งมีการจัดท าระเบียบการไกล่เกลี่ยของ กสม. ซึ่งเป็นกลไกเยียวยานอกศาล

               ขึ้น


                      2.   แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ (NAP) ไม่ควรท าโดย กสม.
               แต่ กสม. ควรจะให้ค าปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะ เพราะ กสม. จะมาเป็นคนท าและตรวจสอบเองไม่ได้


                      3.   กสม. ได้ไปด าเนินการตรวจสอบแรงงานพม่าในภาคธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรม โดยให้จัดท าคู่มือ
               การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (Human Rights Due Diligence - HRDD) ในภาคโรงแรม จังหวัด

               ภูเก็ต เป็นโครงการน าร่อง โดยประสานกับผู้ว่าราชการจังหวัด และท าให้ภาคโรงแรมในจังหวัดให้ความสนใจ

               และความส าคัญในประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ และจะได้เผยแพร่ต่อไป โดยหลังจากนี้ เมื่อ
               คณะอนุกรรมการสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมใน กสม. ได้พัฒนา HRDD  จนส าเร็จแล้ว ก็จะได้

               เผยแพร่เครื่องมือที่เป็น checklist ดังกล่าวให้กับกลุ่มโรงแรม โดย กสม. จะเป็นพี่เลี้ยง เพื่อศึกษาว่าจะส าเร็จ

               หรือไม่ และในเดือนพฤษภาคม กสม. จะจัดสัมมนาเผยแพร่หลักการ UNGP  โดยมี UNDP  เป็นเจ้าภาพ และ



                                                           2-34
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63