Page 67 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 67

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                              7.  ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดนไม่สามารถที่จะจัดการ ด้วยกลไก

                                 ภายในประเทศเพียงล าพังได้ จึงต้องอาศัยความร่วมมือกับต่างประเทศ และความร่วมมือ
                                 ระหว่างรัฐในการจัดการปัญหาดังกล่าว

                              8.  กลุ่มบางกลุ่ม เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ แรงงานย้ายถิ่นเสี่ยงต่อการถูกละเมิด เพราะไม่ได้มี

                                 กฎหมายให้ความคุ้มครองจากการละเมิดของภาคธุรกิจเป็นการเฉพาะและประเทศไทย
                                 ยังไม่ได้เป็นภาคีสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้อง



                              ความท้าทาย

                              1.   ขั้นตอนการด าเนินงานของ กสม. ตั้งแต่กระบวนการรับเรื่อง ตรวจสอบและติดตามใช้

                                 เวลานาน ท าให้ไม่สามารถตอบสนองต่อประเด็นปัญหาได้อย่างเต็มที่
                              2.   โครงสร้างของหน่วยงานยังขาดการบริหารจัดการที่เป็นระบบ (การท างานที่มีขั้นตอน

                                 มากเกินไปและขาดกลไกการควบคุมการใช้จ่ายเงินตามแผนงบประมาณ)

                              3.   องค์ประกอบที่ส าคัญที่จะสนับสนุนการด าเนินงานของ กสม. ได้แก่ 1) การพัฒนา
                                 โครงสร้างพื้นฐานที่ท าให้ผู้ร้องเรียนสามารถเข้าถึง กสม. ได้โดยง่าย 2)  การก าหนด

                                 โครงสร้างการบริหารจัดการองค์กรที่เหมาะสม (โครงสร้างองค์กร อ านาจหน้าที่ การ

                                 วางแผนกลยุทธ์ การจัดการความรู้ การจัดการทรัพยากรบุคคล) และ 3)       การมี
                                 งบประมาณและกระบวนการจัดการด้านการเงินที่เหมาะสม

                              4.   เทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันอาจจะก่อให้เกิดปัญหาสิทธิความเป็นส่วนตัวได้

                              5.   ประเทศไทยยังขาดองค์ความรู้ที่เพียงพอในการระบุถึง และการยอมรับกลุ่ม minorities
                                 หรือกลุ่ม indigenous (กลุ่มชนท้องถิ่นดั้งเดิม)

                              6.   ในปัจจุบัน ภาคเอกชนได้ด าเนินการตามมาตรฐานสิทธิมนุษยชนโดยสมัครใจ ที่ไม่ได้มี

                                 กลไกในการตรวจสอบการรายงานและปฏิบัติตามมาตรฐานว่าถูกต้องครบถ้วนหรือไม่


                       2.4.2   สภาพแวดล้อม สถานการณ์ส าคัญด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น

                              1.   เมื่อพิจารณาถึงสถิติเรื่องร้องเรียนต่อ กสม. พบว่า การละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคธุรกิจ

                                 ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิด้านแรงงานและชุมชนโดยเกิดขึ้นกับโครงการ

                                 พัฒนาเศรษฐกิจขนาดใหญ่
                              2.   ภาพรวมสถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยจะกระทบสิทธิใน 3 กลุ่ม

                                 หลักๆ คือ สิทธิแรงงาน สิทธิแรงงานข้ามชาติ และสิทธิชุมชน

                              3.   การเปิดประชาคมอาเซียน เกิดการเคลื่อนย้ายทุน แรงงานสินค้าและบริการอย่างเสรีที่
                                 อาจส่งผลกระทบต่อสิทธิต่างๆ






                                                           2-43
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72