Page 218 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 218
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
บทบาทที่เป็นอยู่ บทบาทที่ควรจะเป็น
1. การสร้างกลไกการมีส่วนร่วมรับฟังความคิดเห็น 1. การพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งใน
ผ่านคณะอนุกรรมการที่มีความหลากหลายรวม และต่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาด้วยความเป็น
ไปถึงเครือข่ายที่ขึ้นทะเบียนกับ กสม. กลาง มุ่งเสนอจุดยืนบนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน
2. บทบาทโดยตรงกับสื่อยังไม่ชัดเจนมากนัก อย่างเคร่งครัด (สื่อ ภาควิชาการ ผู้นําชุมชน ภาค
ประชาสังคม องค์กรในประเทศ องค์กร
3. การว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทําองค์ความรู้เพื่อ ต่างประเทศ ฯลฯ)
สนับสนุนการสนับสนุนส่งเสริมให้ความรู้ (เช่น
การจัดทําคู่มือ HRDD มาตรฐานสิทธิมนุษยชน - (ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน)
ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ ปลูกฝังให้ความรู้กับผู้นําชุมชน ภาคประชา
ตลอดจนประสบการณ์ และบทบาทของ กสม. สังคม องค์กรพัฒนาเอกชน และการร่วม
ในต่างประเทศ เสริมสร้างศักยภาพกระบวนการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิให้กับภาคีเครือข่าย
4. การสร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัย
- (สื่อ) พัฒนาเครื่องมือในการสื่อสารความรู้
5. การสนับสนุนภาพรวมกรอบความร่วมมือระหว่าง และร่วมมือกับสื่อในการให้ความรู้ทางด้าน
ประเทศ การสร้างความร่วมมือกับสถาบันสิทธิ
ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง สนับสนุน
มนุษยชนเดนมาร์ก German Institute for
บทบาทของสื่อในการตรวจสอบเชิงลึก
Human Rights ธนาคารพัฒนาเอเชีย AICHR
และ UNDP - (ภาควิชาการ) การสนับสนุนในด้าน
ฐานข้อมูลเพื่อนําไปสู่การทําวิจัยและพัฒนา
(เช่น การแปลคู่มือมาตรฐานต่างๆ การ
วิเคราะห์วิจัยเชิงลึก)
- (ต่างประเทศ) ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้
มาตรฐานสากล บทเรียน แนวทางการปฏิบัติ
ที่ดี รวมไปถึงการทําวิจัยและพัฒนาใน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
บทบาทที่เป็นอยู่ในปัจจุบันระหว่าง กสม. กับแนวร่วมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งคณะผู้วิจัยสามารถสรุป
บทบาทที่เกี่ยวข้องของ กสม. ได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
ภาคประชาสังคมและองค์กรพัฒนาเอกชน พบว่า กสม. ที่ผ่านมา ได้มีการสร้างกลไกการมีส่วนร่วมรับ
ฟังความคิดเห็น ผ่านคณะอนุกรรมการที่มีความหลากหลายรวมไปถึงเครือข่ายที่ขึ้นทะเบียนกับ กสม. อย่างไร
4-71