Page 220 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 220
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
4.4.5 กสม. กับการพัฒนาศักยภาพภายในองค์กร
เมื่อพิจารณาถึงศักยภาพของ กสม. กับการพัฒนาศักยภาพภายในองค์กร พบว่ายังมีประเด็นอีกหลาย
ประเด็นที่ กสม. สามารถเข้าไปดําเนินการเพื่อหนุนเสริมให้ตนเองสามารถส่งเสริมและจัดการปัญหาการละเมิด
สิทธิมนุษยชนอันเนื่องมาจากการประกอบธุรกิจของภาคเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่ง
คณะผู้วิจัยได้ดําเนินการเปรียบเทียบบทบาทที่ผ่านมา และบทบาทที่ควรจะเป็นของ กสม. ดังตารางปรากฏ
ข้างล่างนี้
บทบาทที่เป็นอยู่ บทบาทที่ควรจะเป็น
1. การจัดทําแผนกลยุทธ์ขององค์กร เพื่อสนับสนุน 1. การผลักดันแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้นําไปใช้เพื่อ
การดําเนินการด้านสิทธิมนุษยชนและการ สนับสนุนการดําเนินการด้านสิทธิมนุษยชนและ
ประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจ โดย กสม. ควรที่จะปรับสมดุล
2. การวิจัยเพื่อศึกษาบทนิยาม และขอบเขตอํานาจ ภาพลักษณ์ขององค์กรให้ทํางานในเชิงส่งเสริม
ของ กสม. ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น มากยิ่งขึ้น
3. การอบรมเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความเข้าใจใน 2. การทําความเข้าใจภายในองค์กรให้เข้าใจตรงกัน
หลักการสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ เกี่ยวกับนิยาม และขอบเขตอํานาจของ กสม.
เพื่อกําหนดแนวทางการปฏิบัติว่าด้วยการ
4. การจัดทําและเผยแพร่รายงานประจําปี
คุ้มครอง และการเยียวยาการละเมิดสิทธิ
5. การติดตามผลการดําเนินงานในแผนพัฒนา มนุษยชนให้มีประสิทธิภาพ
องค์กร
3. การเพิ่มกลุ่มงานด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนโดย
มีเจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์
ในด้านสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจซึ่งมา
จากหลากหลายสาขา เนื่องจากประเด็นสิทธิ
มนุษยชนเกี่ยวข้องกับมิติที่หลากหลาย
4. การจัดทําคู่มือด้านสิทธิมนุษยชนและการ
ประกอบธุรกิจให้กับเจ้าหน้าที่
5. พัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการบุคลากรของ
องค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6. กสม. ควรจะส่งเสริมให้มีคลังข้อมูลที่รวบรวม
หลักปฏิบัติที่เป็นเลิศ โดยมีทั้งข้อมูลเชิงนโยบาย
กฏหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ
4-73