Page 84 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 84
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ การออกกฎหมาย ความเสียหายที่เกิดกับผู้เสียหายได้อย่างชัดเจน จึงไม่ควรจัดว่า
ดังกล่าว จึงไม่สอดคล้องกับแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ เป็นคดีอุกฉกรรจ์ที่สุด และนอกจากนี้ คณะกรรมการประจ�า
(พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑) และหลักการตามรัฐธรรมนูญ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองฯ มีการตีความว่า
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประกอบรัฐธรรมนูญ ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดไม่จัดเป็นคดีอุกฉกรรจ์ที่สุดด้วย
แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราวพุทธศักราช ๒๕๕๗ ปฏิญญา อย่างไรก็ตาม การกระท�าความผิดในกรณีดังกล่าวบางครั้ง
สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และกติการะหว่างประเทศว่าด้วย อาจเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ซึ่งการเสียชีวิตนั้นอาจเป็นการ
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและไม่สอดคล้องกับความเห็น กระท�าทั้งโดยเจตนาหรือไม่เจตนา จึงเป็นประเด็นที่ต้องน�ามา
๗๗
ของ กสม. ดังปรากฏในข้อ ๒.๖) ประกอบการพิจารณา เมื่อพิจารณาจากแนวทางการตีความ
๔.๒ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทาง ดังกล่าวแล้วเห็นได้ว่ากฎหมายไทยมีบทบัญญัติหลายมาตรา
การเมือง ข้อ ๖ ข้อย่อยที่ ๒ ก�าหนดให้ประเทศที่ยังมิได้ยกเลิกโทษ ที่ไม่สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าวเนื่องจากเป็นฐานความผิด
ประหารชีวิตอาจลงโทษประหารชีวิตได้เฉพาะคดีอุกฉกรรจ์ที่สุด ที่ผู้กระท�าความผิดไม่ได้มุ่งประสงค์ต่อชีวิตของผู้เสียหาย
(The most serious crime) ตามกฎหมายที่ใช้บังคับในขณะกระท�า หรือไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตของบุคคลอื่น เช่น ประมวล
ความผิด แม้ว่ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ กฎหมายอาญา มาตรา ๑๔๘ มาตรา ๑๔๙ มาตรา ๒๐๑ มาตรา
สิทธิทางการเมืองไม่ได้ให้ค�านิยามที่ชัดเจนของค�าว่า คดี ๒๐๒มาตรา ๒๑๘ มาตรา ๒๒๐ มาตรา ๒๒๒ มาตรา ๓๑๓
อุกฉกรรจ์ที่สุด แต่มีแนวทางการตีความโดยผู้เสนอรายงาน และมาตรา ๓๑๔ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
พิเศษของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติด้าน ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๓)
การสังหารนอกกระบวนการยุติธรรม (Special Rapporteur พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๑๒๓/๒ เป็นต้น และไม่สอดคล้องกับความ
on Extrajudicial, Summary or Arbitrary Executions) เห็นของ กสม. ดังปรากฏในข้อ ๒.๖
ที่เห็นว่าคดีอุกฉกรรจ์ที่สุด หมายถึง การท�าให้บุคคลอื่นเสียชีวิต ๔.๓ ถ้าสังคมไทยยังมีแนวความคิดว่าโทษประหารชีวิต
โดยเจตนา อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการตีความของความหมาย เป็นการป้องปรามไม่ให้เกิดการกระท�าความผิดและท�าให้
คดีอุกฉกรรจ์ที่สุดโดยศาลระหว่างประเทศหรือศาลในระดับ ผู้กระท�าความผิดได้รับโทษสาสมกับการกระท�าในลักษณะของ
ภูมิภาค แต่ผู้เชี่ยวชาญบางท่านเห็นว่าการกระท�าความผิดที่มี การแก้แค้นทดแทน เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่สะเทือนขวัญต่อความ บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ลักษณะทางเศรษฐกิจหรือการเมือง การกระท�าความผิดที่ไม่มี รู้สึกของประชาชน ดังเช่น กรณีคดีการข่มขืนและฆาตกรรม
การใช้ความรุนแรง และการกระท�าความผิดที่เกี่ยวกับยาเสพติด เด็กหญิงบนขบวนรถไฟสายนครศรีธรรมราช-กรุงเทพฯ
ไม่ควรจัดว่าเป็นคดีอุกฉกรรจ์ที่สุด และตามหลักกฎหมายทั่วไป ในปี ๒๕๕๗ ความคิดที่ให้คงบทลงโทษประหารชีวิตก็จะยังคง
เมื่อมีการกระท�าความผิดเกิดขึ้น มักต้องมีผู้เสียหาย แต่ความผิด มีอยู่ในสังคมไทยต่อไป
เกี่ยวกับการลักลอบค้ายาเสพติดไม่สามารถระบุผู้เสียหายและ
๓.๒.๔ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
๑ หลักการด้านสิทธิมนุษยชน
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ข้อ ๑๙ ก�าหนดให้บุคคลมีสิทธิที่จะมีความคิดเห็นโดยปราศจาก
การแทรกแซง มีสิทธิในเสรีภาพแห่งการแสดงออก รวมถึงเสรีภาพที่จะแสวงหา รับ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความคิดทุกประเภท
โดยการใช้สิทธิการแสดงออก เสรีภาพที่จะแสวงหา รับ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความคิดทุกประเภทดังกล่าว ต้องมีหน้าที่และ
ความรับผิดชอบพิเศษควบคู่ไปด้วย และอาจมีข้อจ�ากัดในบางเรื่องซึ่งต้องบัญญัติไว้ในกฎหมายและจ�าเป็นต่อ (ก) การเคารพในสิทธิหรือ
ชื่อเสียงของบุคคลอื่น และ (ข) การรักษาความมั่นคงของชาติ หรือความสงบเรียบร้อย หรือการสาธารณสุข หรือศีลธรรมของประชาชน
คณะกรรมการประจ�ากติกา ICCPR ได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออกว่า เสรีภาพดังกล่าว
เป็นสิทธิที่ไม่อาจแทนที่ได้เพื่อการพัฒนามนุษย์โดยสมบูรณ์ เป็นหลักการที่จ�าเป็นยิ่งต่อทุกสังคมเพื่อวางหมุดฐานสังคมที่มีเสรีภาพและ
เป็นประชาธิปไตย เสรีภาพทั้งสองด้านนี้ต่างเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน โดยที่เสรีภาพในการแสดงออกจะท�าหน้าที่ช่วยขับเคลื่อนสังคมไปสู่
การแลกเปลี่ยนและการพัฒนาของเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และเป็นปัจจัยส�าคัญต่อการตระหนักซึ่งหลักการแห่งความโปร่งใส
๗๗ สรุปผลการสัมมนาผู้เชี่ยวชาญ เรื่อง โทษประหารชีวิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างวันที่ ๒๒ –๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมเชอราตัน เจริญกรุง กรุงเทพฯ
54