Page 89 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 89
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๒ สถานการณ์ทั่วไป
สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นปัญหา
ที่สะสมมาเป็นระยะเวลานาน โดยปัจจุบันยังคงมีเหตุการณ์เกิดขึ้น
อย่างต่อเนื่องในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และสงขลา
(ในเขต ๔ อ�าเภอ ได้แก่ อ�าเภอจะนะ อ�าเภอสะบ้าย้อย อ�าเภอ
เทพา และอ�าเภอนาทวี) เหตุการณ์ความขัดแย้งในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้เกิดจากความคิดเห็นของกลุ่มคนที่มีความแตกต่าง
กับระบอบการเมือง และมีทรรศนะในการมองที่ตรงข้ามกัน โดยรัฐ
มองว่าการต่อต้านต่าง ๆ ของกลุ่มบุคคลในพื้นที่นั้น กระท�าไป
เพื่อวัตถุประสงค์ในการแบ่งแยกดินแดน ในขณะที่กลุ่มคนในพื้นที่
กลับมองว่า การเคลื่อนไหวการประท้วงต่อสู้ต่าง ๆ นั้น คือ การเรียกร้องความเป็นธรรมและสิทธิของพลเมืองที่รัฐจะต้องเคารพวัฒนธรรม ความ
๗๘
เชื่อของกลุ่มคน โดยที่การต่อต้านในลักษณะต่าง ๆ ด�าเนินไปเพื่อความถูกต้องและเป็นธรรมตามศรัทธาและความเชื่อของกลุ่ม เหตุการณ์
ความรุนแรงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาที่ยาวนานนั้น รัฐบาลมองว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ แต่ยังปรากฏความเชื่อ
๗๙
ของคนบางส่วนว่า กลุ่มท้องถิ่น คู่แข่งทางธุรกิจหรืออาชญากรรมมีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในพื้นที่ดังกล่าว เหตุการณ์ความไม่สงบ
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดขึ้นต่อเนื่องเรื่อยมาจนกระทั่งในปี ๒๕๔๗ รัฐบาลได้ก�าหนดให้การแก้ไขปัญหาสถานการณ์จังหวัด
ชายแดนภาคใต้เป็นการท�าสงครามต่อต้านการก่อการร้ายในประเทศ มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่ ส่งผลให้มีการโต้ตอบจากกลุ่มผู้ก่อ
ความไม่สงบรุนแรงขึ้น ผ่านการสร้างสถานการณ์ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การท�าร้ายประชาชน การลอบยิง การวางระเบิด การโจมตีฐานปฏิบัติการ
ของเจ้าหน้าที่ และการเผาสถานศึกษา เหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย ตลอดจน
ความปลอดภัยในการด�าเนินชีวิตของคนในพื้นที่
นับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ยังส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ไม่เว้นแม้แต่
รวมระยะเวลากว่า ๑๒ ปี มีเหตุการณ์เกิดขึ้นทั้งสิ้น ๑๕,๓๗๕ ครั้ง โรงเรียน ซึ่งเป็นสถานที่ที่ให้ความรู้แก่เด็กในพื้นที่ ยังตกเป็น
มีผู้เสียชีวิตจ�านวน ๖,๕๔๓ ราย และผู้ได้รับบาดเจ็บจ�านวน เป้าหมายของการก่อความไม่สงบ โดยตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ถึงปัจจุบัน
๘๐
๑๑,๙๑๙ ราย เหตุการณ์ความไม่สงบน�ามาซึ่งความสูญเสีย มีโรงเรียนถูกเผาท�าลายไปแล้ว ๓๒๕ โรงเรียน ในจ�านวนนี้เกี่ยวข้อง
ทั้งในด้านชีวิต ทรัพย์สิน รวมถึงผลกระทบต่อภาวะความเชื่อมั่น กับคดีความมั่นคงจ�านวน ๓๑๔ โรงเรียน โดยจ�าแนกเป็นโรงเรียน
ขวัญและก�าลังใจของประชาชนในพื้นที่ หลายครอบครัวต้อง ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ๑๗ แห่ง จังหวัดปัตตานี ๑๓๓ แห่ง จังหวัด
สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ผู้หญิงจ�านวน ๒,๖๕๓ คน กลายเป็น ยะลา ๘๑ แห่ง และจังหวัดนราธิวาส ๘๓ แห่ง
๘๓
๘๑
๘๒
หม้าย เด็กจ�านวน ๙,๘๐๖ คนกลายเป็นเด็กก�าพร้า นอกจากนี้
๗๘ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, “ความเป็นมาของทฤษฎีแบ่งแยกดินแดนในภาคใต้ไทย”, www.southwatch.org/books.php?id=6 (สืบค้นเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๙)
๗๙ วิกิพีเดีย, “ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย”, https://th.wikipedia.org (สืบค้นเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๙)
๘๐ โรงเรียนนักข่าวชายแดนภาคใต้, “การวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในรอบปี ๒๕๕๘”, www. deepsouthwatch.org/node/7942 (สืบค้นเมื่อวัน
ที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙)
๘๑ ศูนย์อ�านวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้,“รายงานสรุปผลการด�าเนินงานประจ�าปี ๒๕๕๘”, หน้า ๒๘
๘๒ โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้, “ศวชต.เปิดข้อมูลเด็กก�าพร้าจากไฟใต้กว่า ๙ พัน พบเงินเยียวยาถึงเด็กน้อย ต้องดูแลด้านจิตใจ”, http:// deepsouthwatch.org/node/8414 (สืบค้นเมื่อ
๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙)
๘๓ คมชัดลึก,“๑๒ ปีไฟใต้ โรงเรียนถูกเผา ๓๒๕ แห่ง !”, www.komchadluek.net/detail20151231/219651.html (สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙)
59