Page 85 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 85

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘


        และความรับผิดชอบที่ส่งผลส�าคัญยิ่งต่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน อย่างไรก็ดี การใช้สิทธิในเสรีภาพดังกล่าวต้องด�าเนินไป
        พร้อมหน้าที่และความรับผิดชอบเป็นพิเศษ กล่าวคือ การเคารพสิทธิและชื่อเสียงของบุคคลอื่น หรือการปกป้องความมั่นคงของประเทศ
        หรือความสงบเรียบร้อยของสังคม หรือการสาธารณสุข หรือศีลธรรมของสังคม หลักการในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
        ๒๕๕๐ มาตรา ๔๕ บัญญัติว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การจ�ากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระท�ามิได้ เว้นแต่โดย
        อาศัยอ�านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ....”



             ๒    สถานการณ์ทั่วไป


        ในช่วงระยะเวลากว่า ๑๐ ปีที่ผ่านมา การใช้เสรีภาพในการ  ระหว่างวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๓
        แสดงความคิดเห็นและการแสดงออกที่เป็นกรณีที่กระทบต่อ   และการชุมนุมของกลุ่ม กปปส. ระหว่างเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖
        สิทธิมนุษยชนอย่างมาก คือ การแสดงความเห็นและการแสดงออก  – พฤษภาคม ๒๕๕๗ และได้มีข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอ
        ในด้านการเมืองผ่านสื่อต่าง ๆ ตลอดจนในรูปแบบของการชุมนุม  ในการปรับปรุงกฎหมายหลายประการ ทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
        ทางการเมืองหลายครั้งที่น�าไปสู่ความรุนแรงในสังคม มีผู้ที่ได้รับ  การบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐในการบริหารจัดการ
        ผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ไปจนถึงบาดเจ็บและเสียชีวิต  การชุมนุม การใช้กฎหมายพิเศษ ได้แก่ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก
        เป็นจ�านวนมาก หลายกรณีเกิดการละเมิดสิทธิในด้านอื่น ๆ เช่น    พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ พระราชก�าหนดการบริหารราชการใน
        การใช้ถ้อยค�าที่สร้างความเกลียดชัง (hate speech) การกระทบต่อ  สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และพระราชบัญญัติการรักษา
        สิทธิในชีวิตและร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล  ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้สอดคล้องกับ
        ข่าวสาร สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและสันติ ฯลฯ ทั้งต่อประชาชน  หลักการสิทธิมนุษยชนสากล ตลอดจนการปฏิบัติให้สอดคล้องกับ
        ทั่วไป ต่อผู้ชุมนุม และต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ กสม. ได้มีแถลงการณ์ใน  เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การสร้างความเข้าใจ
        ระหว่างการชุมนุมหลายครั้งที่เห็นว่าอาจมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน   ต่อสาธารณชนในการใช้สิทธิและเสรีภาพ การหาทางออกร่วมกัน
        ทั้งโดยเจ้าหน้าที่รัฐและผู้ชุมนุม กสม. ได้ตรวจสอบการกระท�า   โดยค�านึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนตามแนวทางสันติวิธี หลักนิติธรรม
        หรือการละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณี   หลักการมีส่วนร่วม และหลักขันติธรรม โดยค�านึงถึงผลประโยชน์
        การชุมนุมทางการเมืองขนาดใหญ่ ทั้งการชุมนุมของกลุ่ม นปช.   สูงสุดของประเทศ



        เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) น�าโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้เข้าควบคุมอ�านาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ ๒๒

        พฤษภาคม ๒๕๕๗ โดยให้เหตุผลถึงสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ มีผู้ได้รับผลกระทบ บาดเจ็บและเสียชีวิต ตลอดจน
        เหตุการณ์มีแนวโน้มขยายตัวจนอาจเกิดผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ หลังจากที่ได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
        (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และได้มีการออกประกาศ/ค�าสั่ง คสช. เพื่อระงับเหตุการณ์ทางการเมืองที่รุนแรง ยืดเยื้อ แก้ไขปัญหาการ
        บริหารราชการแผ่นดินที่ผ่านมา เช่น ปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ แต่ประกาศ/ค�าสั่งก็ได้ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของบุคคล
        หลายประการต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการควบคุมจ�ากัดสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความเห็นทางการเมือง มีการเรียกหรือเชิญ
        บุคคลให้ไปรายงานตัว การห้ามชุมนุมทางการเมือง การจ�ากัดเสรีภาพความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน

        นอกจากนี้ สืบเนื่องจากสาเหตุส�าคัญที่การชุมนุมทางการเมืองได้ส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวาง หลายฝ่ายรวมทั้งรัฐบาลจึงมีแนวคิด
        ที่จะออกกฎหมายเพื่อก�าหนดเกณฑ์ส�าหรับการชุมนุมสาธารณะขึ้น (ซึ่งหลายประเทศได้มีกฎหมายในลักษณะดังกล่าวเช่นกัน) เพื่อมุ่งให้
        การชุมนุมสาธารณะ “เป็นไปด้วยความสงบเรียบร้อย ไม่กระทบกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของชาติ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบ
        เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชาติ หรือความสะดวกของประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะ และไม่กระทบกระเทือน

        สิทธิและเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น” ซึ่งการออกกฎหมายดังกล่าวได้มีผลกระทบถึงการชุมนุมอื่น ๆ นอกเหนือไปจาก
        การชุมนุมทางการเมืองด้วย อาทิ การชุมนุมของเกษตรกรที่ได้รับความเดือดร้อน หรือการคัดค้านของชุมชนที่ได้รับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
        และสุขภาพจากนโยบาย มาตรการ โครงการต่าง ๆ ไปด้วย









         55
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90