Page 80 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 80

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              ๒.๒  กฎหมายที่ก�าหนดโทษประหารชีวิต               เชิงปฏิบัติการอย่างเป็นขั้นตอนในการเปลี่ยนแปลงโทษประหาร
                                                                                                           ๖๖
              โทษประหารชีวิตส่วนใหญ่ถูกบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา  ชีวิตให้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาเป็นโทษจ�าคุกตลอดชีวิต
              ในฐานความผิดที่หลากหลาย เช่น ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง  ๒.๔  รายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย
              แห่งราชอาณาจักร ความผิดต่อต�าแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิด  ภายใต้กระบวนการ Universal Periodic Review (UPR)
              ต่อต�าแหน่งหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม ความผิดเกี่ยวกับเพศ   ภายหลังจากการน�าเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์ต่อคณะ
              ความผิดต่อชีวิต ความผิดต่อเสรีภาพ ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์   ท�างาน UPR เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๔ ประเทศไทยได้รับข้อเสนอ
              เป็นต้น และบัญญัติไว้ในกฎหมายอื่น เช่น พระราชบัญญัติยาเสพติด   แนะด้านสิทธิมนุษยชนจากกระบวนการ UPR จ�านวน ๑๗๒ ข้อ
              ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดบางประการ   ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่  ๒๒  กุมภาพันธ์  ๒๕๕๕
              ต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๕๒๑ เป็นต้น
                                                               ให้ค�ารับรองข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย
                                                               ได้รับจ�านวน ๑๓๔ ข้อ ทั้งนี้ ข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชน
                                                               ที่คณะรัฐมนตรีไม่ได้มีมติให้ค�ารับรองมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับโทษ
                                                               ประหารชีวิตที่เสนอโดยประเทศต่าง ๆ เช่น ให้ย้ายการกระท�าผิด
                                                               ที่ไม่ใช่ความรุนแรงออกจากกลุ่มที่ต้องโทษประหารชีวิต ให้ออก
                                                               กฎหมายเพื่อยกเลิกโทษประหารชีวิตตามที่ระบุไว้ในแผนปฏิบัติ
                                                               การแห่งชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และทบทวนการใช้โทษประหาร
                                                               ชีวิตส�าหรับความผิดที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด การเปลี่ยนโทษ
                                                               ประหารชีวิตเป็นโทษอื่น ให้ระงับการใช้โทษประหารชีวิตโดยเร็ว
                                                               ที่สุด เพื่อน�าไปสู่การยกเลิกโทษประหารชีวิตในที่สุด ระงับการใช้โทษ
                                                               ประหารชีวิตโดยทันที เพื่อน�าไปสู่การยกเลิกโทษประหารชีวิต
                                                               โดยสมบูรณ์ตามที่ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วย
                                                               สิทธิมนุษยชน ให้หันกลับไปสู่การระงับการบังคับโทษประหารชีวิต

              ๒.๓  แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ                     ในทางปฏิบัติ และเสริมสร้างการหารือสาธารณะที่จ�าเป็นในเรื่องนี้  บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
                                                               เพื่อเป็นขั้นแรกที่น�าไปสู่การยกเลิกโทษประหารชีวิตในที่สุด
              ประเทศไทยได้ปฏิบัติตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ  ให้ระงับการบังคับใช้โทษประหารชีวิตในทุกกรณีและยกเลิกโทษ
              พลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ ๖ ข้อย่อยที่ ๕ มาตั้งแต่ ปี ๒๕๔๖   ประหารชีวิตในที่สุด ทบทวนการใช้โทษประหารชีวิต และยกเลิก
              โดยมาตรา ๑๘ ประมวลกฎหมายอาญา ห้ามมิให้ลงโทษประหารชีวิต   โทษประหารชีวิตโดยสิ้นเชิง แม้ในกรณีความผิดร้ายแรง เป็นต้น ๖๗
              ในเด็กอายุต�่ากว่าสิบแปดปี โดยให้เปลี่ยนเป็นโทษจ�าคุกห้าสิบปี ๖๓   ๒.๕  สถิติโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
              และในปี ๒๕๕๐ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
              ความอาญา มาตรา ๒๔๗ ก�าหนดให้หญิงที่ต้องโทษประหารชีวิต   ข้อมูลจากกรมราชทัณฑ์รายงานว่า ระหว่างปี ๒๕๔๗-๒๕๕๘
              หากมีครรภ์อยู่ให้รอจนกว่าจะพ้นก�าหนดสามปีนับแต่คลอดบุตรแล้ว   มีนักโทษเด็ดขาดประหารชีวิต ๗๘๒ คน ได้รับพระราชทานอภัยโทษ
                                                 ๖๔
              และให้ลดโทษจากประหารชีวิตเป็นจ�าคุกตลอดชีวิต ต่อมา ได้น�า   ลดโทษจากประหารชีวิตเป็นจ�าคุกตลอดชีวิต เป็นจ�าคุก ๙๓ คน ๖๘
              หลักการเรื่องสิทธิในชีวิต/สิทธิของการมีชีวิตอยู่มาก�าหนดไว้ในแผน   ถูกยกฎีกาได้บังคับโทษโดยการประหารชีวิต ๒ คนในปี ๒๕๕๒ ๖๙
              สิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๖) โดยก�าหนด   แสดงให้เห็นว่าในทางปฏิบัติประเทศไทยไม่ได้ใช้การลงโทษ
              ตัวชี้วัดให้กฎหมายที่มีอัตราโทษประหารชีวิตได้เข้าสู่การพิจารณา   ด้วยการประหารชีวิตมาเป็นเวลานานแล้ว ยกเว้นนักโทษประหาร
              ของรัฐสภาให้มีการยกเลิกเป็นโทษจ�าคุกตลอดชีวิต และแผน  ชีวิตคดียาเสพติด ๒ รายในปี ๒๕๕๒ เท่านั้น หลังจากนั้นตั้งแต่
                                                   ๖๕
              สิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๑) ในส่วนของ   ปี ๒๕๕๓ จนถึปัจจุบันประเทศไทยไม่มีการประหารชีวิตนักโทษ
              แผนสิทธิมนุษยชนด้านกระบวนการยุติธรรมได้ก�าหนดข้อเสนอแนะ  อีกเลย ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้


              ๖๓   พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๔๖
              ๖๔   พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๐
              ๖๕   บทสรุปส�าหรับผู้บริหาร แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๖) ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย น. ๓๓,น.๗๗
              ๖๖  แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑) กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม กันยายน ๒๕๕๖ น.๓๘
              ๖๗  กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม เอกสารทางวิชาการ ประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ “โทษประหารชีวิตยังจ�าเป็นต่อสังคมไทยหรือไม่” น.๓ - น.๗
              ๖๘  สถิตินักโทษเด็ดขาดประหารชีวิตที่ยื่นฎีกา และได้รับพระราชทานอภัยโทษ ซึ่งเป็นการลดโทษจากประหารชีวิตเป็นจ�าคุกตลอดชีวิต ระหว่างปี ๒๕๔๗ – ๒๕๕๘
              มีจ�านวนรวมทั้งสิ้น ๙๓ คน โดยจ�าแนกเป็นจ�านวนในปีต่าง ได้แก่ ปี ๒๕๔๗ (๒ คน) ปี ๒๕๔๘ (๔ คน) ปี ๒๕๔๙ (๘ คน) ปี ๒๕๕๐ (๕ คน) ปี ๒๕๕๑ (๑ คน) ปี ๒๕๕๒ (๔ คน) ปี ๒๕๕๓
              (๗ คน) ปี ๒๕๕๔ (๑๘ คน) ปี ๒๕๕๕ (ไม่มี) ปี ๒๕๕๖ (๕ คน) ปี ๒๕๕๗ (๕ คน) และปี ๒๕๔๘ (๓๔ คน)
              ๖๙  จากหนังสือกรมราชทัณฑ์ ที่ ยธ ๐๗๐๖.๔/๘๔๒๐ ลงวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๙ เรื่อง แจ้งข้อมูลนักโทษเด็ดขาดประหารชีวิต, โดย กรมราชทัณฑ์, ๒๕๕๙, กรุงเทพฯ : กรมราชทัณฑ์.



                                                                                                           50
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85