Page 86 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 86

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



               ๓    สถานการณ์ปี ๒๕๕๘


              รัฐบาลได้ประกาศพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ โดยสาระส�าคัญ
              ของพระราชบัญญัติได้ก�าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะ เช่น การก�าหนดนิยาม “การชุมนุมสาธารณะ” และการชุมนุม
              บางประเภทที่ได้รับยกเว้นไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายฉบับนี้ การก�าหนดขั้นตอนการแจ้งการชุมนุมสาธารณะก่อนการชุมนุม การก�าหนด
              สถานที่ต้องห้าม  มิให้จัดการชุมนุมในรัศมี ๑๕๐ เมตร การจ�ากัดเวลาในการชุมนุมหรือปราศรัยและการใช้เครื่องขยายเสียง การห้าม
              เคลื่อนย้ายการชุมนุมในเวลากลางคืน การก�าหนดหน้าที่ของผู้จัดการชุมนุมและผู้ชุมนุม และบทก�าหนดโทษในกรณีต่าง ๆ ส�าหรับผู้ฝ่าฝืน
              ซึ่งมีทั้งโทษจ�าคุกและปรับ เป็นต้น  ซึ่งก่อนหน้านี้ กสม. ได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับร่างกฎหมายพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ
              พ.ศ. .... ว่า ไม่ควรใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงควบคู่กับกฎหมายชุมนุมสาธารณะ ไม่ควรแปลความบทบัญญัติแห่งร่างพระราชบัญญัติฯ
              จนไม่อาจชุมนุมสาธารณะได้ ควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่อ�านวยความสะดวกและจัดสถานที่ชุมนุมสาธารณะ การก�าหนด
              ให้การชุมนุมสาธารณะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน ไม่สอดคล้องกับหลักการตามกติกา ICCPR และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
              ไทย การให้รัฐมนตรีอาจประกาศเพิ่มเติมพื้นที่ห้ามชุมนุมเป็นการก�าหนดเงื่อนไขเกินสมควรและให้ดุลยพินิจแก่รัฐมนตรีมากเกินไป
              การให้ผู้ชุมนุมต้องมีหนังสือแจ้งเจ้าหน้าที่ก่อนชุมนุมเท่ากับเป็นการให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอ�านาจอนุญาตการชุมนุม การก�าหนดหน้าที่
              ของผู้จัดการชุมนุมไว้หลายประการ บางมาตราไม่อาจปฏิบัติได้ ไม่สอดคล้องกับหลักการตาม ICCPR และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
              ไทย การให้การกระท�าตามร่างพระราชบัญญัติฯ ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองนั้น เห็นว่า ข้อพิพาทจาก
              การชุมนุมอาจเป็นข้อพิพาททางปกครอง แพ่ง อาญา จึงไม่ควรบัญญัติให้เหตุที่เกิดขึ้นทุกคดีอยู่ภายใต้ศาลใดศาลหนึ่ง
















              ในปี ๒๕๕๘ มีกรณีที่เจ้าหน้าที่รัฐได้เข้าไปด�าเนินการให้เป็นไป  นอกจากนี้ นักวิชาการกว่า ๓๐๐ คน ได้ร่วมกันออกแถลงการณ์  บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
              ตามกฎหมาย และประกาศ/ค�าสั่ง คสช. ที่มีผลกระทบต่อสิทธิ  เรื่อง “มหาวิทยาลัยไม่ใช่ค่ายทหาร” และนักวิชาการกลุ่มหนึ่ง
              และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นหลายกรณี โดยเฉพาะการ  ได้ถูกหมายเรียกในข้อหาร่วมกันมั่วสุมหรือชุมนุมทางการเมือง
              แสดงความเห็นในด้านการเมืองและการต่อต้านการรัฐประหาร   ทั้งนี้ ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ โดยโครงการอินเทอร์เน็ต
              ทั้งการสัมมนา การแสดงความคิดเห็น และจัดกิจกรรมของ   เพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) รายงานว่า ในปี ๒๕๕๘ การด�าเนิน
              นักวิชาการในสถาบันการศึกษาและนักศึกษา ทั้งโดยกลุ่มที่มีแนวคิด  การของเจ้าหน้าที่รัฐในลักษณะ “ปรับทัศนคติ” ยังมีอย่างต่อเนื่อง
              ต่อต้านรัฐประหารและกลุ่มกิจกรรมทั่วไป มีการสั่งให้ยุติกิจกรรม    และมีการใช้รูปแบบวิธีอื่นนอกเหนือจากการเชิญตัวไปพบ เช่น
              การเปลี่ยนชื่องาน การขอให้เจ้าหน้าที่รัฐร่วมเป็นวิทยากร ตลอดจน   การไปเยี่ยมบ้าน โดยมีผู้ที่อยู่ในข่ายดังกล่าวไม่น้อยกว่า ๒๓๘ คน
              การส่งเจ้าหน้าที่ทหารและต�ารวจเข้าไปสังเกตการณ์  เช่น การให้ยกเลิก   มีคดีข้อหาการชุมนุมทางการเมือง จ�านวน ๓๗ คดี อนึ่ง มีผู้ที่
              การจัดกิจกรรม เรื่อง“รัฐธรรมนูญไทยเอาไงดี”จัดโดยกลุ่มภาคี  ถูกด�าเนินคดีฐานความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
              เครือข่ายนักกิจกรรมนักศึกษาเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยรามค�าแหง   ๑๑๒ จ�านวน ๓๗ คน (ที่ยืนยันได้) ตั้งแต่การแสดงความเห็น การ
              การให้งดกิจกรรมฉายภาพยนตร์ “บางแสนรามา ๒๐๑๕” จัดโดย   เผยแพร่ข้อความ ไปจนถึงการมีส่วนร่วมผลิตและการเผยแพร่
              นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา   และถูกสงสัยว่าจะก่อเหตุรุนแรงในช่วงเวลาส�าคัญ ทั้งนี้ ศาลยุติธรรม
              การให้เปลี่ยนหัวข้องานจัดเสวนาเรื่อง” โดยกลุ่มขบวนการ   (ในทุกชั้น) และศาลทหารได้มีค�าพิพากษาต่อความผิดฐานดังกล่าว
              ประชาธิปไตยใหม่ การห้ามพูดประเด็นเกี่ยวกับการเมืองในงาน   รวมถึงเป็นคดีที่พ่วงความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ
              เสวนา เรื่อง “เพศสภาวะในสังคมสมัยใหม่ (Gender & LGBTIQs  in   กระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และการฝ่าฝืน
              Modern Society)” ที่หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย   ประกาศ คสช. ตลอดจนข้อหายุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมาย
              เชียงใหม่ การให้ยุติงานเสวนา เรื่อง “ท�าไมต้องน�า ม. ออก  อาญามาตรา ๑๑๖ รวมทั้งสิ้นอย่างน้อย ๑๗ คดี โดยค�าพิพากษา
              นอกระบบ” ของกลุ่มลูกชาวบ้าน มหาวิทยาลัยบูรพา ฯลฯ    มีตั้งแต่การยกฟ้อง การลงโทษจ�าคุก แต่ให้รอลงอาญา ลดโทษ
              อย่างไรก็ดี การด�าเนินการของเจ้าหน้าที่รัฐเป็นไปในลักษณะ  ไปจนถึงจ�าคุกโดยไม่รอลงอาญา
              การเจรจาขอความร่วมมือมากกว่าที่จะเป็นการห้ามหรือปิดกั้น


                                                                                                           56
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91