Page 88 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 88

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              ๓.๒.๕  สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้



                ๑    หลักการด้านสิทธิมนุษยชน

              กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights :
              ICCPR) ให้การรับรองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ได้แก่ สิทธิในการมีชีวิตอยู่ เสรีภาพจากการถูกทรมาน การห้ามบุคคลมิให้ตก
              อยู่ในภาวะเยี่ยงทาส การห้ามบุคคลมิให้ถูกจับกุมตามอ�าเภอใจ การปฏิบัติต่อผู้ถูกลิดรอนเสรีภาพอย่างมีมนุษยธรรม ความเสมอภาค
              ของบุคคลภายใต้กฎหมาย การห้ามมิให้มีการบังคับใช้กฎหมายอาญาย้อนหลัง สิทธิการได้รับรองเป็นบุคคลตามกฎหมาย การ
              ห้ามแทรกแซงความเป็นส่วนตัว  การคุ้มครองเสรีภาพทางความคิด  เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก
              เป็นต้น ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีกติกา ICCPR โดยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๙ และมีผลใช้บังคับกับ
              ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๓๐  มกราคม ๒๕๔๐ โดยไม่มีการตั้งข้อสงวน แต่ได้ท�าค�าแถลงตีความไว้ ๔ ประเด็น ได้แก่ (๑)
              ข้อบทที่ ๑ วรรค ๑ เรื่องการใช้สิทธิในการก�าหนดเจตจ�านงของตนเอง การก�าหนดสถานะทางการเมือง การด�าเนินการ
              ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมอย่างเสรี (๒) ข้อบทที่ ๖ วรรค ๕ การพิพากษาประหารชีวิตบุคคลอายุต�่ากว่า ๑๘ ปี (๓) ข้อบทที่
              ๙ วรรค ๓ ระยะเวลาในการน�าผู้ถูกจับกุมไปศาล และ (๔) ข้อบทที่ ๒๐ วรรค ๑ การห้ามโฆษณาชวนเชื่อเพื่อสงคราม โดยต่อมา
              ประเทศไทยได้ถอนค�าแถลงตีความข้อบทที่ ๖ วรรค ๕ และข้อบทที่ ๙ วรรค ๓ มีผลตั้งแต่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕


              อนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และการประติบัติ หรือการลงโทษอื่น  ของค�าว่าการเลือกปฏิบัติต่อสตรี (discrimination against
              ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี (CAT) ซึ่งมุ่งประสงค์   women)  พันธกรณีของรัฐภาคีมาตรการที่รัฐภาคี
              ในการระงับและยับยั้งการกระท�าการทรมานและทารุณกรรม   ต้องด�าเนินการเพื่อสนับสนุนความก้าวหน้าของสตรี มาตรการ
              ในทุกรูปแบบและทุกสถานการณ์ และให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการ  เร่งด่วนชั่วคราวเพื่อสร้างความเท่าเทียมกันระหว่าง
              ต่อต้านการทรมานขึ้น เพื่อดูแลไม่ให้มีการกระท�าการทรมานใน   บุรุษและสตรีอย่างแท้จริง  การปรับรูปแบบทางสังคม
              รัฐภาคี และให้รัฐภาคีออกมาตรการทางกฎหมายหรือมาตรการต่าง ๆ   และวัฒนธรรมเพื่อให้เอื้อต่อการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี  บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
              ที่จ�าเป็นเพื่อป้องกันไม่ให้มีการกระท�าการทรมานในประเทศตน   การสร้างความเท่าเทียมกันระหว่างบุรุษและสตรีในด้าน
              ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ โดย  การเมืองและการด�ารงชีวิต (public life) ทั้งในระดับ
              การภาคยานุวัติเมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ และมีผลบังคับใช้   ประเทศและระหว่างประเทศ เช่น สิทธิในการเลือกตั้ง
              กับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐          การสนับสนุนให้ด�ารงต�าแหน่งที่ส�าคัญ ความเท่าเทียมกัน

              อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) ได้ประกันสิทธิของเด็กโดยเน้น  ในกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ และการศึกษาการที่สตรีจะได้รับ
              หลักพื้นฐาน ๔ ประการ ได้แก่ (๑) การห้ามเลือกประติบัติต่อเด็ก   การดูแลทางเศรษฐกิจ โดยได้รับความเท่าเทียมกันในด้าน
              และการให้ความส�าคัญแก่เด็กทุกคนอย่างเท่าเทียม โดยไม่  สิทธิและโอกาสที่จะได้รับการจ้างงานและสิทธิด้านแรงงาน
              ค�านึงถึงความแตกต่างของเด็ก ในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา   รวมถึงการป้องกันความรุนแรงต่อสตรี ในสถานที่ท�างาน
              ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง ชาติพันธุ์ หรือสังคม ทรัพย์สิน   การให้ความส�าคัญแก่สตรีในชนบท ทั้งในด้านแรงงานและ
              ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะอื่นๆ ของเด็ก หรือบิดามารดา   ความเป็นอยู่ ความเท่าเทียมกันของบุรุษและสตรีในด้าน
              หรือผู้ปกครองทางกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อให้เด็กมีโอกาสที่เท่าเทียมกัน   กฎหมาย โดยเฉพาะในด้านกฎหมายแพ่ง และกฎหมาย
              (๒) การกระท�าหรือการด�าเนินการทั้งหลายต้องค�านึงถึงประโยชน์  ครอบครัว
              สูงสุดของเด็กเป็นอันดับแรก (๓) สิทธิในการมีชีวิต การอยู่รอด และ  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และ
              การพัฒนาทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และ (๔) สิทธิในการแสดง  พุทธศักราช ๒๕๕๗ (ฉบับชั่วคราว) ได้ให้ความคุ้มครองศักดิ์ศรี
              ความคิดเห็นของเด็ก และการให้ความส�าคัญกับความคิด ตลอดจน  ความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล
              พิธีสารเลือกรับฯ เรื่อง ความเกี่ยวพันของเด็กในความขัดแย้งกัน  โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
              ด้วยอาวุธที่รัฐจะต้องมีมาตรการ ป้องกัน ติดตาม คุ้มครองไม่ให้  ได้บัญญัติหลักการส�าคัญ ๆ หลายประการ ที่ให้การคุ้มครอง
              เด็กเข้าไปอยู่ในสถานการณ์ความขัดแย้ง หรือสถานการณ์การสู้รบ  สิทธิของประชาชน อาทิ การรับรองสิทธิและเสรีภาพในชีวิต

              อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ   และร่างกาย การห้ามการทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษ
              (CEDAW)  ซึ่งมุ่งประสงค์ในการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีทุกรูปแบบ   ด้วยวิธีการโหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรม สิทธิในกระบวนการ
              รวมทั้งการประกันว่าสตรีและบุรุษมีสิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติ   ยุติธรรม เป็นต้น
              และดูแลจากรัฐอย่างเสมอภาคกัน การก�าหนดค�าจ�ากัดความ


                                                                                                           58
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93