Page 76 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 76
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
แผนดังกล่าวในส่วนแผนสิทธิมนุษยชนของกลุ่มผู้ต้องหา/ผู้ต้องขัง ได้มีกิจกรรมที่มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาสภาพเรือนจ�า การขยาย
สาธารณูปโภคต่าง ๆ การส่งเสริมการปฏิบัติต่อจ�าเลยโดยค�านึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน และปรับแก้ไขพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
๔๘
พ.ศ. ๒๔๗๙ โดยที่ยังมิได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย พ.ศ. ....
และยังไม่มีการแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเกี่ยวกับค�านิยามการทรมาน อาจกล่าวได้ว่า กฎหมายภายในของประเทศไทยไม่มีบทบัญญัติ
ความผิดฐานการกระท�าทรมานที่สอดคล้องกับอนุสัญญา CAT
นับแต่รัฐบาลได้บังคับใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเมื่อมีการรัฐประหารและประกาศใช้
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ พบว่า บทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวท�าให้บุคคลโดยเฉพาะที่ต้องสงสัยได้กระท�า
การที่ขัดต่อกฎหมายดังกล่าวมีโอกาสเสี่ยงต่อการถูกกระท�าด้วยการทรมาน กล่าวคือ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึกฯ มาตรา ๑๕ ทวิ
ให้อ�านาจเจ้าหน้าที่ความมั่นคงกักตัวบุคคลที่มีเหตุควรสงสัยเพื่อสอบถามได้เป็นเวลา ๗ วัน โดยไม่ต้องขอหมายจับจากศาล พระราชก�าหนด
การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ก�าหนดให้เจ้าหน้าที่สามารถควบคุมตัวบุคคลได้ ๗ วัน อาจขอขยายเวลาได้ครั้งละ ๗ วัน
แต่ไม่เกิน ๓๐ วัน ในสถานที่ที่ไม่ใช่ที่ควบคุมตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาโดยไม่มีบทบัญญัติรับรองสิทธิของผู้ถูก
ควบคุมตัว เช่น การได้รับการเยี่ยมจากญาติหรือปรึกษาทนายความ เป็นต้น
กสม. เคยมีข้อเสนอแนะไปยังรัฐบาลขอให้ทบทวนการบังคับใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โดยให้ใช้อย่างจ�ากัดเท่าที่จ�าเป็น เมื่อใช้กฎหมายความมั่นคงฉบับใด หากสถานการณ์ดีขึ้นควรยกเลิกการใช้กฎหมายความมั่นคง
ฉบับดังกล่าว แล้วใช้กฎหมายที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนน้อยที่สุด ๔๙
ส�าหรับการป้องกันและการคุ้มครองบุคคล ท�าผิดวินัย ๕๐ ซึ่งแม้ในทางปฏิบัติกรมราชทัณฑ์ก็ได้ยกเลิกการลงโทษ
๕๒
๕๑
จากการถูกกระท�าทรมานในสถานที่ที่ท�าให้บุคคล โดยการขังห้องมืด และการเฆี่ยน แล้ว แต่ยังมีบทบัญญัติเกี่ยวกับ
เสื่อมเสียอิสรภาพนั้น การบริหารจัดการเรือนจ�า โทษดังกล่าวในกฎหมายและอีกทั้งเนื้อหาบางประการไม่สอดคล้องกับ
และปฏิบัติต่อผู้ถูกคุมขังภายใต้ความรับผิดชอบ มาตรฐานขั้นต�่าว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังและข้อก�าหนดของ
ของกรมราชทัณฑ์ได้มีพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ สหประชาชาติส�าหรับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงในเรือนจ�าและมาตรการ บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
พ.ศ. ๒๔๗๙ เป็นกฎหมายหลัก ซึ่งพบว่า ที่มิใช่การคุมขังส�าหรับผู้กระท�าผิดหญิง (Bangkok Rules) ที่ประเทศไทย
มีบทบัญญัติบางประการที่เปิดโอกาสให้ ได้รับรอง อย่างไรก็ตาม รัฐบาลอยู่ระหว่างร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
ผู้ถูกคุมขังถูกกระท�าทรมาน เช่น ก�าหนดให้ใช้ ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติให้สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่า
การขังเดี่ยวเเละการขังห้องมืดโดยความ และข้อก�าหนดกรุงเทพมากขึ้น ทั้งนี้ ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวอยู่ระหว่าง
๕๓
เห็นชอบของแพทย์ และเฆี่ยนในความควบคุม การพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา
ของแพทย์เป็นบทลงโทษแก่ผู้ต้องขังที่
ในปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ กสม. ได้ด�าเนินการโครงการตรวจเยี่ยมสถานที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน สถานีต�ารวจและเรือนจ�า มีสถานี
ต�ารวจที่เข้ารับการตรวจเยี่ยม ๑๖ แห่ง และมีเรือนจ�าที่เข้ารับการตรวจเยี่ยม ๑๘ แห่ง ข้อค้นพบจากโครงการดังกล่าว คือ ในส่วนของ
สถานีต�ารวจ พบว่า สถานีต�ารวจส่วนใหญ่มีการแยกห้องควบคุมตัวระหว่างหญิงกับชาย และระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ สภาพทางกายภาพ
โดยทั่วไปอยู่ในเกณฑ์ดี ยกเว้นบางแห่งที่ห้องควบคุมผู้ต้องหามีสภาพทรุดโทรมหรือสะอาดไม่เพียงพอ
๔๘ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๔๔–๔๕
๔๙ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่ง
ชาติ เล่ม ๑ ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗, เรื่อง ข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายพิเศษที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พระพุทธ
ศักราช ๒๔๕๗ พระราชก�าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑, หน้า ๒๐-๒๓
๕๐ พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๗๙ มาตรา ๓๕ (๖) (๗) และ (๘)
๕๑ กรมราชทัณฑ์มีนโยบายยกเลิกการใช้ห้องมืดมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๘
๕๒ ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการยกเลิกระเบียบกรมราชทัณฑ์ ฉบับที่ ๑ เรื่องการลงโทษเฆี่ยน พ.ศ. ๒๔๘๐ และ พ.ศ. ๒๕๔๘
๕๓ ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๘ เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. .... ดูรายละเอียดได้ที่<www.cabinet.soc.go.th>
(เข้าดู ณ วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๙)
46