Page 78 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 78
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ น�าหลักการด้าน
สิทธิมนุษยชนสากลตามพันธกรณีที่ประเทศไทย
พึงน�ามาแก้ไขกฎหมายในประเทศให้สอดคล้อง
ตามอนุสัญญาส�าคัญ ๒ ฉบับ คือ อนุสัญญาต่อต้าน
การทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษอื่น
ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย�่ายีศักดิ์ศรี (CAT)
และอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคน
จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ (CED)
โดยมีการก�าหนดมาตรการให้สอดคล้องกับหลัก
สากลต่าง ๆ อาทิ (๑) การห้ามการทรมานและ
การบังคับบุคคลให้สูญหายโดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะ
เป็นสถานการณ์สงคราม สถานการณ์ฉุกเฉินและ ป้องกันทรมานและการหายสาบสูญโดยถูกบังคับอย่างแท้จริง การก�าหนด
สถานการณ์ความไม่มั่นคง (๒) การก�าหนดให้เป็น การทรมานและการอุ้มหายเป็นความผิดอาญาเป็นกรอบทางกฎหมาย
ความผิดทางอาญาและมีบทลงโทษที่เหมาะสมกับ เป็นความก้าวหน้าที่ส�าคัญที่แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยยืนยันกับประชาคม
ความร้ายแรงของการกระท�าความผิดโทษตั้งแต่ ระหว่างประเทศว่า “การทรมานและการบังคับให้สูญหายเป็นการกระท�าที่ห้าม
๕-๑๕ ปี ส่วนในกรณีผู้ถูกทรมานเสียชีวิต ต้อง โดยเด็ดขาดและผิดกฎหมายอาญา” ไม่ว่าสถานการณ์ใด ๆ และประเทศไทย
ระวางโทษจ�าคุก ๑๕-๓๐ ปี หรือจ�าคุกตลอดชีวิต ก็จะต้องจัดให้มีแนวทางน�ากฎหมายฉบับนี้มาบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยก�าหนดนิยามของความผิดทั้งสองสอดคล้อง จึงจะสะท้อนให้เห็นว่า บัดนี้ ประเทศไทยมุ่งมั่นในการต่อต้านการทรมานและ
กับหลักการสากล (๓) การก�าหนดบทลงโทษ การบังคับบุคคลให้สูญหาย และด�าเนินการให้มีการสอบสวนและคลี่คลายคดี
เจ้าหน้าที่ที่ยุยง ยินยอมหรือรู้เห็นในฐานะผู้บังคับ ที่ยังหาตัวผู้กระท�าผิดมาลงโทษมิได้ โดยร่างฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างการพิจารณา
บัญชาในข้อหาดังกล่าวต้องรับผิดร่วมด้วย (๔) การ จากสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป
ก�าหนดมาตรการป้องกันการทรมานและอุ้มหาย ในส่วนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง พบว่ามีการเสียชีวิตของผู้ต้องหาว่ากระท�า บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
โดยเฉพาะก�าหนดข้อปฏิบัติในการควบคุมตัว ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ ซึ่งอยู่ระหว่างการควบคุม
บุคคลในสถานที่ควบคุมตัว ห้ามการควบคุมตัว ของเจ้าหน้าที่รัฐ ต่อมา หน่วยงานที่ควบคุมผู้ต้องหาได้ตั้งคณะกรรมการ
ลับ (๕) การจัดตั้งคณะกรรมการสืบสวนสอบสวน สอบสวนข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ ซึ่งชี้แจงว่า สถานที่ที่ใช้คุมขังดัดแปลงมาจาก
๖๑
และรับเรื่องร้องเรียน และอื่น ๆ ทั้งนี้ กสม. ที่ท�าการหน่วยงานทหาร ใช้ระบบการขังเดี่ยว ในห้องคุมขังมีลักษณะปิดทึบ
ยังเห็นว่า ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ยังขาดความ ทั้งสี่ด้าน มีข้อสังเกตว่าคณะกรรมการสอบสวนข้างต้น ไม่มีรายละเอียด
สมบูรณ์ในบางส่วน ซึ่งอาจจะมีปัญหาในทาง เกี่ยวกับองค์ประกอบและการประกันความเป็นอิสระของคณะกรรมการฯ
ปฏิบัติ เช่น การขาดความเป็นอิสระที่แท้จริงของ จึงไม่สอดคล้องกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕๐
คณะกรรมการสืบสวนสอบสวน ความเชี่ยวชาญ ซึ่งบัญญัติให้มีการชันสูตรพลิกศพโดยพนักงานสอบสวน ร่วมกับแพทย์
ของคณะกรรมการ การมีส่วนร่วมของญาติและ ทางนิติเวชศาสตร์ พนักงานอัยการและพนักงานฝ่ายปกครอง
ผู้เสียหาย ช่องทางการช่วยเหลือญาติและเหยื่อ
รวมทั้งการเยียวยาด้านจิตใจและการคุ้มครองพยาน สถานการณ์ด้านผู้อพยพและผู้ลี้ภัย ในปี ๒๕๕๘ รัฐบาลได้
เป็นต้น ทั้งนี้ เห็นสมควรให้รัฐบาลไทยเร่ง ประกาศนโยบายการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ส่งผลให้เกิดวิกฤต
พิจารณาร่างกฎหมายฉบับดังกล่าว และด�าเนิน ด้านสิทธิมนุษยชนและมนุษยธรรมขึ้น และเป็นเหตุให้ขบวนการค้ามนุษย์
การให้การบังคับใช้กฎหมาย พร้อมทั้งแก้ไข ทิ้งเรือซึ่งมีกลุ่มบุคคลโดยสารมาด้วยจ�านวนมากกลางทะเล โดยรัฐบาล
ปรับเปลี่ยนกฎหมาย หรือแนวทางการปฏิบัติ แสดงท่าทีในทางลบต่อกลุ่มบุคคลดังกล่าวในการขึ้นมายังชายฝั่งประเทศไทย
ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอนุสัญญาระหว่าง อีกทั้งในเดือนสิงหาคมและพฤศจิกายน ๒๕๕๘ รัฐบาลได้ส่งกลับกลุ่มบุคคล
ประเทศที่ไทยลงนามหรือเป็นรัฐภาคี รวม ที่เป็นผู้ลี้ภัยไปยังประเทศต้นทาง แม้มีแนวโน้มว่าพวกเขาเหล่านั้นเสี่ยง
ทั้งการให้ความรู้เรื่องกฎหมายฉบับนี้ต่อเจ้า ที่จะถูกคุกคาม หรือมีภัยจากการประหัตประหาร
หน้าที่ของรัฐอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการ
๖๑ กรมราชทัณฑ์, แถลงข่าวกรมราชทัณฑ์ เรื่อง ผู้ต้องขังเสียชีวิต (๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๘) และกรณีผู้ต้องขังเสียชีวิตในขณะถูกคุมขัง, ๙ พฤศจิกายน ๕๘
48