Page 71 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 71

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



          สถานการณ์การควบคุมตัวบุคคลมาสอบถามข้อมูลหรือให้ถ้อยค�า ตามค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘ ที่ให้อ�านาจเจ้าพนักงาน
          รักษาความสงบเรียบร้อยมีอ�านาจเรียกตัวบุคคลเพื่อมาสอบถามข้อมูลหรือให้ถ้อยค�าที่เป็นประโยชน์ และมีอ�านาจควบคุมตัวได้ไม่เกินเจ็ดวัน แต่
          การควบคุมตัวดังกล่าวต้องควบคุมไว้ในสถานที่อื่นที่มิใช่สถานีต�ารวจ ที่คุมขัง ทัณฑสถาน หรือเรือนจ�า และจะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นในลักษณะ
          ที่เป็นผู้ต้องหามิได้ ซึ่งผลจากค�าสั่งฉบับดังกล่าวท�าให้มีการควบคุมตัวบุคคลที่ถูกกล่าวหาว่ากระท�าความผิดตามที่ระบุในค�าสั่งฉบับดังกล่าว
          ซึ่งส่วนใหญ่จะไม่สามารถทราบสถานที่ควบคุมตัวและไม่สามารถติดต่อญาติหรือผู้ที่ไว้วางใจได้ เช่น กรณีนายประวิตร โรจนพฤกษ์ ผู้สื่อข่าว
          อาวุโสเครือเดอะเนชั่น ถูกทหารควบคุมตัวตั้งแต่บ่ายวันอาทิตย์ที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๘  โดยไม่ทราบสถานที่ควบคุมตัวและระยะเวลาควบคุมตัว
                                       ๓๗
          และไม่อนุญาตให้น�าโทรศัพท์ติดตัวไปด้วย  ต่อมา วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๘ เวลาประมาณ ๑๖.๐๐ น. นายประวิตร ได้รับการปล่อย
                                      ๓๘
          ตัว ที่กองบัญชาการกองทัพภาคที่ ๑  หรือกรณีนายฐนกร ศิริไพบูลย์ ถูกเจ้าหน้าที่ควบคุมตัวจากบริษัทเอกชนย่านสมุทรปราการ
          เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๘ โดยถูกกล่าวกระท�าความผิดตามมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการกระท�าความความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
          พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๑๒ และมาตรา ๑๑๖ แห่งประมวลกฎหมายอาญา โดยไม่สามารถทราบได้ว่านายฐนกรฯ ถูกควบคุมตัวอยู่ที่ใด ๓๙



          ในอีกทางหนึ่ง รัฐได้มีการออกกฎหมาย แก้ไขปรับปรุงกฎหมาย  พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ให้ความช่วยเหลือ
          หลายฉบับ และมาตรการอื่น เพื่อแก้ไขเยียวยาปัญหาที่ประชาชน  สนับสนุนค่าใช้จ่าย จากเดิม ๘ เรื่อง ประกอบด้วย การประกันตัว
          ได้รับผลกระทบจากความบกพร่องในกระบวนการยุติธรรม เช่น    ค่าจ้างทนายความ ค่าธรรมเนียมศาล การตรวจพิสูจน์ ค่าพาหนะ
          พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย  เดินทาง การคุ้มครองช่วยเหลือให้ได้รับความปลอดภัย ความเสียหาย
          แก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ มีการปรับแก้เพื่อกระจายอ�านาจ  ที่เกิดจากการกระท�าผิดอาญาและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์
          ให้อนุกรรมการในระดับจังหวัดสามารถพิจารณาอนุมัติค�าขอได้   กองทุน เพิ่มเติมเป็น ๑๐ เรื่อง โดยได้เพิ่มเติมการช่วยเหลือเยียวยา
          เพื่อให้ประชาชนได้รับสิทธิและความเป็นธรรมตามพระราชบัญญัติ  ความเสียหายผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือได้รับผลกระทบ
          ดังกล่าวมากขึ้น และได้ประสานความร่วมมือกับส�านักงานต�ารวจ  จากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น ค่าใช้จ่ายที่จ�าเป็นในการ
          แห่งชาติ เพื่อให้สถานีต�ารวจทุกแห่งทั่วประเทศ เป็นจุดด�าเนินการ   รักษาพยาบาล เงินช่วยเหลือในกรณีที่ถึงแก่ความตาย ค่าขาด
          พิจารณาให้ความช่วยเหลือเยียวยาแก่ประชาชน และได้จัดตั้ง   ประโยชน์ท�ามาหาได้ในระหว่างที่ไม่สามารถประกอบการงาน
          ศูนย์ยุติธรรมชุมชนครบทุกต�าบลให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ตามสถานที่  ได้ตามปกติ เป็นต้น
                                          ๔๐
          ตั้งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ



          นอกจากนี้ ยังมีการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน และการน�าเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (Electronic Monitoring : EM)
          มาใช้ในกระบวนการยุติธรรม โดยมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๓๐)
          พ.ศ. ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ ซึ่งได้มีการก�าหนดให้น�าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้กับการขอปล่อยตัวชั่วคราวได้ โดยในการอนุญาต
          ให้ปล่อยชั่วคราว เจ้าพนักงานซึ่งมีอ�านาจสั่งให้ปล่อยชั่วคราวหรือศาลจะก�าหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับที่อยู่หรือเงื่อนไขอื่นใดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
          ปฏิบัติ หรือในกรณีที่ผู้นั้นยินยอมจะสั่งให้ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใดที่สามารถใช้ตรวจสอบหรือจ�ากัดการเดินทางของ
          ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวก็ได้ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการหลบหนี หรือภัยอันตราย หรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น แต่ถ้าผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมีอายุไม่ถึง
          สิบแปดปีบริบูรณ์ แม้ผู้นั้นยินยอมจะสั่งให้ใช้อุปกรณ์ดังกล่าวได้ต่อเมื่อผู้นั้นมีพฤติการณ์ที่อาจเป็นภัยต่อบุคคลอื่นอย่างร้ายแรง หรือมีเหตุ
          สมควรประการอื่น
          มีการจัดท�าร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่..) พ.ศ. .... การบังคับโทษปรับและการรอการลงโทษ
          ให้สามารถรอการลงโทษส�าหรับโทษปรับได้ รวมทั้งก�าหนดให้ศาลอาจพิพากษาให้รอการก�าหนดโทษหรือรอการลงโทษแก่ผู้กระท�าความผิด
          ที่เคยรับโทษจ�าคุกมาก่อนแต่พ้นโทษจ�าคุกมาแล้วเกินกว่า ๕ ปี แล้วมากระท�าความผิดอีก โดยความผิดครั้งหลังเป็นความผิดที่ได้กระท�าโดย
          ประมาทหรือความผิดลหุโทษ ซึ่งการพยายามปรับแก้กฎหมายฉบับนี้ เป็นการช่วยประชาชนที่ได้รับผลกระทบเนื่องจากการต้องถูกกักขัง
          แทนค่าปรับ โดยมีมาตรการเพิ่มขึ้นคือการรอการลงโทษปรับ อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสบุคคลในการรอการก�าหนดและรอการลงโทษส�าหรับ
          ผู้ที่เคยต้องโทษจ�าคุกที่มิใช่ผู้กระท�าผิดติดนิสัย



          ๓๗   ดูรายละเอียดได้ที่ <www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1442209461> (เข้าดู ณ วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๙)
          ๓๘   ดูรายละเอียดได้ที่ <www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1442324344> (เข้าดู ณ วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๙)
          ๓๙   ดูรายละเอียดได้ที่ <https://tlhr2014.wordpress.com/2015/12/11/thanakorn-force-to-disappear-statement/>
          ๔๐   ดูรายละเอียดได้ที่ <www.rlpd.go.th/rlpdnew/index.php2012-06-20-06-21-44/rlpd-pr/4597-2016-01-18-09-42-36> (สืบค้นเมื่อ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๙)

         41
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76