Page 72 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 72
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๔ การประเมินสถานการณ์
ในปี ๒๕๕๘ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมโดยมีการกล่าวอ้างว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐกระท�าการละเมิด
สิทธิมนุษยชนมากที่สุด เมื่อเทียบกับสิทธิในด้านอื่น ๆ แม้จะมีจ�านวนน้อยกว่าปี ๒๕๕๗ ก็ตาม โดยมีการกล่าวอ้างว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ในกระบวนการยุติธรรมกระท�าการอันไม่เป็นไปตามหลักกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งรัฐมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตามพันธกรณี
ระหว่างประเทศที่เป็นภาคี ในการเคารพ คุ้มครอง และท�าให้สิทธิเกิดผลในทางปฏิบัติ โดยในการปฏิบัติตามกติการะหว่างประเทศ
ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ยังคงมีการด�าเนินการที่อาจจะไม่สอดคล้องกับหลักการดังกล่าว และยังคงเป็นสถานการณ์
ที่น่าห่วงใยที่รัฐควรที่จะตระหนักและให้ความส�าคัญ ดังนี้
การค�านึงถึงสิทธิของผู้ถูกกล่าวหา/ผู้ต้องหา ยังพบว่า
เจ้าหน้าที่ของรัฐมีการน�าตัวผู้ถูกกล่าวหาว่ากระท�าความผิดแถลง
ข่าวต่อสื่อมวลชน/การน�าตัวไปท�าแผนประกอบค�ารับสารภาพ
โดยหลักแล้วบุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่ากระท�าความผิดอาญา ย่อมได้รับ
การสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าศาลจะมีค�าพิพากษา
ตัดสินว่ามีความผิด และก่อนที่จะมีค�าพิพากษาอันถึงที่สุด
แสดงว่าบุคคลใดกระท�าความผิดจะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือน
ผู้กระท�าความผิดมิได้ การน�าตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปชี้ที่เกิดเหตุ
ประกอบค�ารับสารภาพ อาจจะจ�าเป็นต้องด�าเนินการในกรณีคดี
ที่ไม่มีประจักษ์พยานและพยานหลักฐานที่หาได้โดยยาก จึงท�าให้ ตัวหรือความคืบหน้าของคดีเจ้าหน้าที่ต�ารวจสามารถด�าเนิน
ต้องหาพยานหรือเหตุแวดล้อมประกอบ รวมทั้งวัตถุพยานต่าง ๆ การแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนได้โดยไม่จ�าเป็นต้องเปิดเผยใบหน้า บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
เช่น อาวุธที่ใช้ในการกระท�าความผิด ซึ่งหากไม่น�าตัวผู้ต้องหาไปชี้ ของผู้ต้องหาได้ ส่วนกรณีการน�าตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปชี้
ที่เกิดเหตุก็จะท�าให้ไม่ได้พยานหลักฐานประกอบการพิสูจน์ที่เกิดเหตุ ที่เกิดเหตุ แม้จะให้ผู้ต้องหาใส่เสื้อเกราะและมีเจ้าหน้าที่
เพื่อให้พบพยานหลักฐานต่าง ๆ โดยในการน�าตัวผู้ต้องหาไป ของรัฐคอยให้ความคุ้มครอง แต่ก็ยังคงมีความเสี่ยงต่อการถูกรุม
ชี้ที่เกิดเหตุประกอบค�ารับสารภาพจะต้องค�านึงถึงความปลอดภัย ประชาทัณฑ์ อีกทั้ง ในกรณีที่มีการน�าตัวผู้ต้องหาที่เป็นเด็ก
ของผู้ต้องหา ป้องกันมิให้มีการกระท�าที่เป็นการกระทบต่อสิทธิ อายุไม่เกิน ๑๘ ปีบริบูรณ์ ไปชี้ที่เกิดเหตุประกอบค�ารับสารภาพ
และเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย รวมถึงสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งไม่สอดคล้องกับแนวทางตามค�าสั่งส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ
เพื่อมิให้กระทบต่อชื่อเสียงของผู้ต้องหาและบุคคลในครอบครัว ที่ ๘๕๕/๒๕๕๘ เรื่อง การปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ข่าว การแถลงข่าว
และต้องไม่กระท�าให้เกิดลักษณะที่เป็นการประจาน และการแถลง การให้สัมภาษณ์ การเผยแพร่ภาพต่อสื่อมวลชน และการจัดท�า
ข่าวต่อสื่อมวลชนอาจเป็นไปเพื่อป้องปรามบุคคลไม่ให้กระท�า สื่อประชาสัมพันธ์ การกระท�าดังกล่าวเป็นการกระท�าที่
ความผิดและเป็นการกระตุ้นเตือนภัยให้สังคมเกิดความระมัดระวัง ส่งผลกระทบต่อผู้ต้องหาหรือจ�าเลย และญาติของผู้ต้องหา
แต่ไม่จ�าเป็นต้องน�าผู้ต้องหาไปแถลงข่าวก็สามารถกระท�าได้ หรือจ�าเลย ซึ่งสังคมจะเกิดความไม่ไว้วางใจต่อบุคคลนั้น
แต่ยังคงพบว่า เจ้าหน้าที่ต�ารวจยังคงมีการน�าตัวผู้ต้องหา รวมทั้งคนในครอบครัวของบุคคลนั้นด้วย เป็นการกระท�า
มาตั้งโต๊ะแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง ในลักษณะที่ ที่กระทบต่อสิทธิของผู้ต้องหาหรือจ�าเลยในการที่จะได้รับการ
ไม่มีการปกปิดใบหน้า มีการให้ชื่อ-นามสกุลผู้ต้องหา และมีการน�า สันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ และกระทบต่อเกียรติยศชื่อเสียงด้วย
เสนอข่าวดังกล่าวในสื่อหลัก ซึ่งหากจะมีการแถลงถึงการจับกุม
42