Page 48 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 48

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘





              ข้อเรียกร้องด้านแรงงาน  ตั้งแต่ปี ๒๕๕๖- ๒๕๕๘ องค์กรด้านแรงงานได้มีความพยายามเรียกร้องสิทธิด้านแรงงานต่อรัฐบาล
              เพื่อแก้ไขปัญหาของผู้ใช้แรงงาน อาทิ ความต้องการให้รัฐบาลเร่งรับรองอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
              ฉบับที่ ๘๗  และ ๙๘  พร้อมกับตรากฎหมายต่าง ๆ เช่น กฎหมายตั้งกองทุนประกันความเสี่ยงให้แก่ลูกจ้างในกรณีที่สถานประกอบการ
              ปิดกิจการเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย พระราชกฤษฎีกาการจัดเก็บเงินสะสมและเงินสมทบเพื่อเป็นกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
              และเร่งน�าร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. .... ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ของผู้ใช้แรงงานเข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติ
              แห่งชาติ (สนช.) เป็นต้น


                          สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง ๖ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มผู้หญิงและความเสมอภาค
               ๒.๓        ระหว่างเพศ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม กลุ่มชาติพันธุ์


                          กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ เเละกลุ่มชนพื้นเมือง




              ในการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคลที่เสี่ยงต่อ
              การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ๖ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มผู้หญิง
              และความเสมอภาคระหว่างเพศ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุ
              กลุ่มแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐ
              และไร้สัญชาติ เเละกลุ่มชนพื้นเมือง มีความเกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง
              สิทธิในด้านต่าง  ๆ ที่ได้รับการประกันทั้งจากพันธกรณีระหว่าง
              ประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี บทบัญญัติตาม
              รัฐธรรมนูญ มาตรฐานระหว่างประเทศอื่น ๆ ตลอดจนการประกาศ
              รับตามข้อเสนอและที่รัฐบาลประกาศจะด�าเนินการ (pledge)
              ในกระบวนการ UPR กลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ นอกจากเป็นกลุ่มบุคคล
              ที่สากลให้ความสนใจเป็นพิเศษเนื่องจากเป็นกลุ่มเปราะบาง
              ที่มีแนวโน้มที่จะถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนสูงแล้ว ยังเป็นกลุ่มที่มักจะ
              ถูกละเมิดซ�้าซ้อน (double discrimination) ด้วยเหตุแห่งการ
              มีสถานะที่แตกต่างทางร่างกาย เช่น กลุ่มผู้หญิงที่พิการ กลุ่มเด็ก   หลายกรณี ขาดการบูรณาการ ท�าให้นโยบายและกฎหมาย
              ที่เป็นผู้ติดตามแรงงานเข้าเมือง หรือกลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่ม  ที่มีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน เมื่อแต่ละหน่วยงานต่าง บทที่ ๒ ภาพรวมสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
              ชาติพันธุ์  เป็นต้น  ปัจจัยเหล่านี้ล้วนมีความ  “เชื่อมโยงและทับ  ปฏิบัติ ท�าให้เกิดผลกระทบต่อกลุ่มบุคคลและชุมชนในพื้นที่
              ซ้อน (Intersectionality)” กันจากสถานการณ์สิทธิมนุษยชน  โดยในหลายกรณีพบว่า มีการละเมิดหรือการเลือกปฏิบัติ
              ที่ กสม. ได้รวบรวมข้อมูลและประเมินในปี ๒๕๕๘ พบว่า รัฐบาล   ในลักษณะที่ทับซ้อน นโยบายหรือมาตรการหลายประการ
              ได้ให้ความสนใจและมีความพยายามที่จะคุ้มครองสิทธิของ  ยังคงเป็นปัญหาสืบเนื่องที่ไม่ได้รับการแก้ไข  และมีความท้าทาย
              บุคคลทั้ง ๖ กลุ่ม โดยการก�าหนดนโยบาย การตรากฎหมาย    ใหม่ ๆ ที่รัฐจ�าเป็นต้องด�าเนินนโยบายและมาตรการป้องกันแก้ไข
              แนวปฏิบัติที่มีความก้าวหน้าหลายประการ อย่างไรก็ตาม กรณีที่  อย่างจริงจัง เช่น กลุ่มเด็กที่ติดตามแรงงานข้ามชาติ หรือการ
              พบเห็นทั่วไปก็คือ ปัญหาในการน�านโยบายและกฎหมายไปปฏิบัติ  ประกันสิทธิของผู้สูงอายุเมื่อประเทศก�าลังเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
              ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในเชิงของประสิทธิภาพ ประสิทธิผล   โดยสมบูรณ์ ซึ่งอาจสรุปรายกลุ่มได้ ดังนี้
















                                                                                                           18
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53