Page 51 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 51

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘





                                                   กลุ่มคนพิการ

                                                   กสม. พบว่า ประเทศไทยได้ด�าเนินการถอนถ้อยแถลงตีความ ข้อ ๑๘ วรรค ๒
                                                   ของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการเกี่ยวกับสิทธิในการจดทะเบียนเกิด สิทธิ
                                                   ในการมีชื่อ และสิทธิในการได้สัญชาติของเด็กพิการ ซึ่งรัฐได้ให้ค�ามั่นไว้
                                                   ในการเสนอรายงาน UPR รอบที่ ๑ ในปี ๒๕๕๔ ขณะที่รัฐบาลได้ออกกฎหมาย
                                                   เพื่อให้คนพิการเข้าถึงสิทธิประโยชน์จากรัฐ และเพื่อส่งเสริมและพัฒนา
                                                   คุณภาพชีวิตของคนพิการให้ครอบคลุม ทั่วถึง โดยออกกฎหมายส�าคัญ
                                                   หลายฉบับ อาทิ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
                                                   พ.ศ. ๒๕๕๐ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๖) เพื่อขจัดการกระท�าที่เป็นการเลือกปฏิบัติ
                                                   โดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการ และเพื่อช่วยเหลือคนพิการให้ได้รับสิทธิประโยชน์
                                                   และการอ�านวยความสะดวกเพิ่มขึ้น โดยให้องค์กรด้านคนพิการมีบทบาทในการ
                                                   ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการมากขึ้น พร้อมกับการออกกฎกระทรวง
                                                   ก�าหนดจ�านวนคนพิการที่นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการและหน่วยงานของ
                                                   รัฐจะต้องรับเข้าท�างาน และจ�านวนเงินที่นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการ
          ทั้งนี้ กสม. ประเมินสถานการณ์ของกลุ่มคนพิการ   จะต้องน�าส่งเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๔
          โดยพบว่า คนพิการยังประสบปัญหาอุปสรรค     เพื่อส่งเสริมการจ้างงานคนพิการ และแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
          ในการเข้าถึงการศึกษา เนื่องจากการถูกปฏิเสธ  ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) เพื่อสร้างสรรค์สังคมที่บูรณาการเพื่อคนพิการ
          การเข้ารับการศึกษา การขาดความพร้อมของ    และทุกคนในสังคม  ให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิทธิอย่าง
          สถานศึกษา ตลอดจนการขาดการจัดสรรเครื่อง   เท่าเทียม และเป็นธรรม โดยไม่เลือกปฏิบัติต่อคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ
          อ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการที่เหมาะสม   รวมถึงการออกพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาส�าหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑
          และตรงตามความต้องการของคนพิการแต่ละ      (เเก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๖) เพื่อให้การบริการและการให้ความช่วยเหลือ
          ประเภท ในด้านการประกอบอาชีพ ผู้ประกอบการ   แก่คนพิการในด้านการศึกษาเป็นไปอย่างทั่วถึงทุกระบบและทุกระดับการศึกษา
          ส่วนใหญ่ยังคงเลือกช่องทางจ่ายเงินชดเชยเข้า
          กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
          มากกว่าการจ้างคนพิการเข้าท�างาน เนื่องจาก
          สถานที่ของผู้ประกอบการยังขาดความพร้อม    ฐานข้อมูลของคนพิการที่สมบูรณ์ ครอบคลุม และปราศจากการตีตราพร้อมกับ
          และสิ่งอ�านวยความสะดวกที่เหมาะสม รวมถึง  เป็นไปในแนวทางสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ควรเปิดกว้างให้กับกลุ่มคนพิการที่ไม่มี
          ข้อจ�ากัด ด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถของ  สัญชาติไทยให้สามารถรับบัตรดังกล่าวเพื่อรับรองและคุ้มครองสิทธิ และเข้าถึง
          คนพิการ ในด้านการเข้าถึงสิ่งอ�านวยความสะดวก  โอกาสในการฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตจากรัฐ (๒) การเตรียมความพร้อมของ
          อันเป็นสาธารณะ ที่ผ่านมา ยังคงไม่ครอบคลุม    สถานศึกษาของรัฐ ทั้งด้านการมีบุคลากรและอุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อประเภท
          ทั่วถึง โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล อีกทั้งมีข้อ  ของคนพิการและมีการด�าเนินการเชิงปฏิบัติการในการส่งเสริม สนับสนุน ให้คน
          จ�ากัดในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และในด้าน   พิการมีการศึกษาในระดับที่สูงได้ (๓) การมีมาตรการหรือแนวทางในการด�าเนิน
          การรับบริการสาธารณสุข ยังคงพบความเหลื่อมล�้า   งานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เกิดแนวทางการจ้างงานในชุมชน
          ระหว่างระบบประกันสุขภาพภาครัฐ เนื่องจาก  เพื่อขยายโอกาสให้คนพิการสามารถท�างานในภูมิล�าเนาของตนเอง และเป็น
          ระบบประกันสุขภาพของภาครัฐ ได้ก�าหนดสิทธิ  ทางเลือกให้แก่คนพิการในการพัฒนาศักยภาพของตน ท�าให้คนพิการเกิด
          ประโยชน์ให้แก่คนพิการ ซึ่งครอบคลุมประเภท  ความภาคภูมิใจและรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง (๔) การเร่งรัดและติดตามการจัด
          ความพิการไม่เท่าเทียมกันของระบบประกัน    สิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว
          สุขภาพของรัฐทั้ง ๓ ระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง   (๕) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนพิการในทุกระดับ ตั้งแต่การด�าเนิน
          การสนับสนุนอุปกรณ์ส�าหรับช่วยเหลือคนพิการ   กิจกรรม การวางแผนและร่วมก�าหนดนโยบายกับรัฐ รวมถึงการมีส่วนร่วม
          ประเภทต่าง ๆ ดังนั้น รัฐควรด�าเนินมาตรการ   ในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนงานของหน่วยงานต่าง ๆ
          เชิงรุก  พร้อมกับการติดตามผลอย่างจริงจัง  และการมีส่วนร่วมในระดับนโยบายและการก�าหนดยุทธศาสตร์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
          และต่อเนื่อง โดยมีล�าดับความส�าคัญ ได้แก่
         (๑)  การจัดท�าบัตรประจ�าตัวคนพิการโดยมี

         21
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56