Page 53 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 53

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘






         กลุ่มแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม

        กสม.  พบว่า  รัฐบาลพยายามจัดท�าและด�าเนินนโยบายและมาตรการ
        ที่ส�าคัญเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม อาทิ การลงนามบันทึก
        ความเข้าใจ หรือข้อตกลงร่วมในการน�าเข้าแรงงานข้ามชาติบางสัญชาติเพื่อแก้ไข
        ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในประเทศ การเปิดจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว
        ในลักษณะศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ รวมถึงการมีมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑๘
        กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เห็นชอบหลักการ การจัดระบบการจ้างคนต่างด้าวสัญชาติ
        เมียนมา ลาว และกัมพูชาที่เข้ามาท�างานในลักษณะไป-กลับ หรือตามฤดูกาล
        โดยมีการออกประกาศ และนโยบายการปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง แต่ทั้งนี้ กสม.
        พบว่า มีประเด็นที่ยังคงเป็นข้อท้าทายใน ๔ ส่วนหลัก ๆ คือ (๑) สภาพการท�างาน
        ซึ่งส่งผลให้เกิดการละเมิดสิทธิของแรงงานข้ามชาติทั้งระยะเวลาการท�างาน
        ที่ก�าหนดวันหยุดพัก การท�างานล่วงเวลาโดยไม่ได้รับค่าตอบแทน ความเสี่ยง  กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐ เเละไร้สัญชาติ
        ต่ออุบัติเหตุในการท�างาน การไม่ได้รับสวัสดิการขั้นพื้นฐาน รวมถึงความเสี่ยง   เเละชนเผ่าพื้นเมือง
        ต่อการถูกล่วงละเมิดทางเพศ  (๒)  ระบบประกันสังคมและการเข้าถึง     กสม. พบว่า ในภาพรวมของการด�าเนินงาน
        บริการสาธารณสุข โดยแม้ว่าจะมีกฎหมาย หรือนโยบายที่ก�าหนดไว้ทั้ง    ที่เกี่ยวข้องกับประชากรกลุ่มดังกล่าว ยังขาด
        พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ (มาตรา ๓๓) หรือบัตรประกันสุขภาพ    การก�าหนดหน่วยงานที่ประสานงานหรือรับผิดชอบ
        แต่ยังมีปัญหาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง
        รวมถึงการสื่อสารทางภาษา การไม่ได้รับความร่วมมือจากนายจ้างในบางส่วน   อย่างชัดเจน ขาดการจัดท�าแผนแม่บทรวมถึง
        ข้อจ�ากัดของระบบข้อมูลที่ข้อเท็จจริง ความบกพร่องของเอกสารแสดงสถานะ  การด�าเนินการติดตามการปฏิบัติตามแผน
        บุคคล หรือความเกี่ยวข้อง (หลักฐานทะเบียนสมรส หรือการแสดงความเป็น  ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการมีกฎระเบียบ
        บิดามารดา) (๓) การเข้าถึงการศึกษา โดยพบว่าในจ�านวนเด็กที่ไม่มีสัญชาติ  ที่แตกต่างหลากหลาย และไม่เป็นปัจจุบัน
        ไทยประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ คน เป็นเด็กที่มิได้อยู่ในระบบการศึกษาถึงร้อยละ ๔๖   การขาดการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่าง ๆ
        และมีจ�านวนเด็กข้ามชาติที่ศึกษาในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะมัธยมศึกษาจ�านวน  และขาดบุคลากรที่มีประสบการณ์ในการ
        น้อยลง เนื่องจากการขาดความมั่นคงของศูนย์การเรียนรู้ที่มิได้รับการสนับสนุน  ปฏิบัติงาน ซึ่งท�าให้ไม่มีการจัดท�าระบบข้อมูล
        จากรัฐบาล ปัญหาอุปสรรคด้านภาษา และความจ�าเป็นในการประกอบอาชีพ    ที่สมบูรณ์ และปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
        เพื่อหาเลี้ยงครอบครัว และ (๔) การจัดตั้งสหภาพและการนัดหมายหยุดงาน   ทั้งนี้ ยังพบสถานการณ์ที่เป็นความเสี่ยงหลัก ๆ
        เนื่องจากข้อติดขัดในด้านบทบัญญัติทั้งในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์    ของกลุ่มดังกล่าว ได้แก่ (๑) การขาดความ
        พ.ศ. ๒๕๑๘ และพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓    มั่นคง หรือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับที่ดิน ที่ท�ากิน
        ตลอดจนการด�าเนินการอนุมัติกฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญาองค์การ    และที่อยู่อาศัยเนื่องจากปัญหากรรมสิทธิ์
        แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘                      การถือครองที่ดิน หรือการใช้ประโยชน์บนพื้นที่
        ทั้งนี้ กสม. ประเมินสถานการณ์ด้านกลุ่มแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม   การขาดระบบข้อมูลที่ชัดเจนและความขัดแย้ง
        โดยเห็นว่า รัฐยังมีข้อจ�ากัดบางประการที่เป็นอุปสรรคในการเข้าถึงสิทธิ   เชิงนโยบายระหว่างการพัฒนาและการอนุรักษ์
        ของแรงงานข้ามชาติ ทั้งการก�าหนดเงื่อนไขด้านหลักฐานในการใช้สิทธิ  ธรรมชาติ  ทั้งนี้  พบว่า  กรณีร้องเรียนหลาย
        ประกันสังคม การมีจ�านวนสถานพยาบาลที่น้อย และอยู่ห่างไกลจากสถานที่  กรณีที่รัฐประกาศเขตอุทยานโดยมิได้ค�านึงถึง
        ซึ่งเป็นแหล่งที่มีแรงงานข้ามชาติจ�านวนมาก และการมีช่องว่างทางกฎหมาย   ข้อเท็จจริงว่า มีประชาชนอาศัย หรือใช้ประโยชน์
        ที่สร้างอุปสรรคให้สิทธิของแรงงานข้ามชาติไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล ดังนั้น   ในพื้นที่ดังกล่าวมาก่อน ท�าให้เกิดการฟ้องร้อง
        จึงมีข้อเสนอให้รัฐบาลพิจารณาเงื่อนไขในการให้สิทธิการจัดตั้งสหภาพ   ด�าเนินคดีในข้อหาบุกรุก ในปี ๒๕๕๘ กสม.
        แก่แรงงานข้ามชาติที่มีความพร้อม และไม่เป็นผลกระทบ หรือความเสี่ยง  ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีความขัดแย้งเกี่ยวกับ
        ต่อความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ และสังคม อาทิ แรงงานที่พิสูจน์สัญชาติ    ที่ดิน ที่ท�ากิน และที่อยู่อาศัย เนื่องจากลักษณะ
        และแรงงานที่น�าเข้าตามMOU เป็นต้น เพื่อเป็นการประกันสิทธิขั้นพื้นฐาน
        ตามมาตรฐานสากล



         23
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58