Page 45 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 45
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
สิทธิทางการศึกษา ในเรื่องความเหลื่อมล�้าและโอกาสในการเข้าถึงสิทธิในการศึกษา ตัวชี้วัดส�าคัญที่แสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมล�้า
และโอกาสในการเข้าถึงสิทธิในการศึกษา ประกอบด้วย (๑) ด้านอัตราการเข้าเรียน จากข้อมูลอัตราการเข้าเรียนจะเห็นว่าคนไทยมีโอกาส
ได้รับการศึกษาเพิ่มมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม เด็กและเยาวชนก็ยังไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ครบทุกคน โดยเฉพาะการศึกษาภาคบังคับ
นอกจากนี้ ยังพบว่าอัตราการเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษามีอัตราค่อนข้างต�่า น้อยกว่าครึ่งของประชากรทั้งหมด (๒) อัตราการคงอยู่
ในระบบการศึกษา อัตราการคงอยู่ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในปีการศึกษา ๒๕๕๗ เมื่อเทียบกับปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น เว้นแต่ในระดับประถมศึกษาที่ลดลง โดยในช่วงที่มีการเลื่อนชั้นจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
มีการตกหล่นของนักเรียนมากที่สุด และในแต่ละปีผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพจะมีอัตราการคงอยู่ต่อรุ่นน้อยที่สุด
ส่วนในเรื่องคุณภาพการศึกษา มีตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา ๓ ตัวชี้วัด ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET
Programme for International Student Assessment: O-NET PISA) ความสามารถในการคิดของผู้เรียน (GAT)
ความสามารถในการอ่าน เขียนและค�านวณของประชากรอายุ ๖ ปีขึ้นไป ซึ่งผลการประเมินปรากฏว่า
(๑) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับ เขียน และค�านวณ มีร้อยละ ๙๑.๑ โดยกลุ่มเยาวชน (อายุระหว่าง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๑๕-๒๔ ปี) มีความสามารถอ่าน เขียน และค�านวณได้มากที่สุด
ใน ๕ กลุ่มสาระ คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ส่วนกลุ่มวัยสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป) อยู่ที่ร้อยละ ๗๑.๓ อีกทั้ง
วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พบว่ายังไม่เป็น ข้อมูลยังแสดงให้เห็นว่าเด็กที่ไม่ได้ศึกษาในระบบ ร้อยละ ๙๓.๗๓
ที่น่าพอใจมากนัก (๒) ความสามารถในการคิดของผู้เรียน (General เป็นเด็กยากจน จึงขาดโอกาสทางการศึกษา นอกจากนั้น ระบบการ
Aptitude Test : GAT) พบว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ บริหารจัดการศึกษาที่ไม่กระจายอ�านาจหรือการจ�ากัดการบริหาร
คิดสร้างสรรค์ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานค่อนข้างดีพอสมควร จัดการในท้องถิ่นต่าง ๆ ก็เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อ “คุณภาพ”
เมื่อพิจารณาจากผลการสอบวัดความถนัดทั่วไป (GAT) ของ สทศ. และ “การเข้าถึง” การศึกษา โดยระบบการศึกษาที่ก�าหนด
แต่เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา พบว่ามีคะแนนลดลง และ (๓) ความ จากส่วนกลางมิได้สนองตอบต่อความต้องการและบริบททาง
สามารถในการอ่าน จากการส�ารวจของส�านักงานสถิติแห่งชาติ วัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลาย ส่งผลกระทบภาพรวมต่อ
ในรายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตาม การแข่งขันทางการศึกษาของประชากรในประเทศไทย แม้ว่ารัฐบาล
นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ปี ๒๕๕๖ พบว่า ในปี ๒๕๕๖ ไทยได้จัดสรรงบประมาณด้านการศึกษาจ�านวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
๑๕
ประชากรอายุ ๖ ปีขึ้นไปเป็นผู้ที่สามารถอ่านหนังสือออก ร้อยละ ในแต่ละปี แต่ถึงอย่างไรก็ตาม ระบบการศึกษาของประเทศ
๙๔.๘ สามารถเขียนหนังสือได้ร้อยละ ๙๔.๑ สามารถค�านวณได้ ยังไม่สามารถตอบสนองต่อความหลากหลายเหล่านี้ได้
ร้อยละ ๙๓.๘ และเป็นผู้ที่มีความสามารถทั้ง ๓ ด้าน คือ การอ่าน
๑๕ ข้อมูลจากธนาคารโลก
15