Page 52 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 52

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘


























             กลุ่มผู้สูงอายุ
             กสม. พบว่า มีข้อท้าทายส�าคัญ ๔ ด้าน คือ (๑) การส่งเสริมสิทธิของ   ซึ่งแม้ว่ารัฐบาลได้มีนโยบายเบี้ยยังชีพถ้วนหน้าให้กับบุคคล
             ผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยเฉพาะ   สัญชาติไทยทุกคนที่มีอายุตั้งเเต่ ๖๐ ปีขึ้นไป โดยจะต้องแสดงสิทธิ
             ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมในการ   โดยการขึ้นทะเบียนในอัตราแบบขั้นบันได (๖๐๐-๑,๐๐๐ บาท
             ด�ารงชีวิตที่ดี ยังมีไม่มากพอ ท�าให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เสีย  ต่อเดือน) แต่ยังเป็นจ�านวนเงินที่ยังไม่เพียงพอกับค่าครองชีพ
             โอกาสในการเข้าถึงสิทธิ ยังขาดกลไกรัฐและภาคประชาสังคม   ในปัจจุบัน และมีมูลค่าเพียง ๑ ใน ๓ ของค่าเส้นความยากจนของ
             ที่สนับสนุนการด�าเนินการส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ และยังคงมี   ประเทศ และยังอาจจะไม่ยั่งยืนเนื่องจากไม่มีกฎหมายรองรับ
             ช่องว่างทางกฎหมายที่จ�ากัดสิทธิของผู้สูงอายุในด้านทางเลือก   และ (๔) การมีทัศนคติทั่วไปที่มองผู้สูงอายุเป็นภาระของสังคม
             และการเข้าถึงการท�างานได้ตามความสามารถ หรือได้รับการส่งเสริม  มากกว่าที่จะเห็นความส�าคัญในเชิงการสั่งสมภูมิปัญญาความรู้
             และพัฒนาจากรัฐ (๒) การขาดความชัดเจนในการปฏิรูประบบรองรับ   โดยสะท้อนผ่านการน�าเสนอในสื่อมวลชน และการก�าหนด
             การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยเฉพาะในส่วนของ  นโยบายต่าง ๆ ในขณะที่พบว่า ประชากรผู้สูงอายุร้อยละ ๘๕
             เศรษฐกิจ การด�าเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ยังมิให้ความส�าคัญ    มีความสามารถที่จะเป็นทรัพยากรในการพัฒนาประเทศ
             และไม่มีนโยบาย และแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและเพียงพอ    แต่ยังขาดการส่งเสริมการเปลี่ยนแปลง และแก้ไขทัศนคติใน
             ขาดการบูรณาการการปฏิบัติงาน (๓) การขาดความมั่นคงทางรายได้   เรื่องดังกล่าว





            กสม. ประเมินสถานการณ์ และมีข้อเสนอต่อการส่งเสริม คุ้มครองและพัฒนาสิทธิของกลุ่มผู้สูงอายุ กล่าวคือ (๑) ควรออกกฎหมาย บทที่ ๒ ภาพรวมสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
            ทั้งการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและอาชีพของผู้สูงอายุที่มุ่งเน้นขยายความครอบคลุมถึงสิทธิของผู้สูงอายุ และการกระจายอ�านาจ
            การบริหารกองทุนผู้สูงอายุ โดยการบรรจุเป้าหมาย นโยบาย และแผนงานผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ ไว้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
            และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่ม ทั้งนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
            ความมั่นคงของมนุษย์ควรก�าหนดนโยบายเสริมสร้างให้มีกลไกและทรัพยากรในการส่งเสริมสิทธิผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติ
            ผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้สู่การปฏิบัติผ่านกลไกรัฐ และภาคประชาสังคม (๒) ควรสร้างความมั่นคงทางรายได้ในวัยสูงอายุด้วยระบบ
            บ�านาญแห่งชาติ โดยควรออกกฎหมายรองรับการก�าหนดบ�านาญขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนทุกคน เพื่อให้การด�าเนินนโยบายเบี้ยยังชีพ
            ถ้วนหน้าให้กับบุคคลสัญชาติไทยทุกคนที่มีอายุ ๖๐ ปี มีความชัดเจนและยั่งยืน โดยควรมีกฎหมายที่ชัดเจนรองรับพระราชบัญญัติ
            คณะกรรมการนโยบายบ�าเหน็จบ�านาญแห่งชาติ (๓) ควรสร้างมาตรการในการส่งเสริมการเปลี่ยนแปลง และแก้ไขทัศนคติทั่วไป
            ที่มองผู้สูงอายุเป็นภาระของสังคม โดยเน้นย�้าบทบาทของผู้สูงอายุกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ ซึ่งรัฐบาลควรต้องก�าหนดนโยบาย
            และจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง และ (๔) ควรสนับสนุนให้มีอนุสัญญาแห่งสหประชาชาติว่าด้วยผู้สูงอายุ ตามการสนับสนุน
            ของคณะท�างานเปิดแห่งสหประชาชาติด้านผู้สูงอายุ (UN Open-End Working Group) โดยจะต้องปรับปรุงกฎหมาย นโยบาย
            และการด�าเนินงานต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน







                                                                                                           22
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57