Page 47 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 47
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
สภาพการท�างานและระบบประกันสังคม เมื่อเปรียบเทียบ รวมทั้งสิ้น ๑๒.๔๓ ล้านคน ๑๓.๖๓ ล้านคน และ ๑๓.๗๙ ล้านคน
จ�านวนก�าลังแรงงานรวมทั้งสิ้นกับจ�านวนผู้มีงานท�าของประเทศ ตามล�าดับ แสดงให้เห็นว่า จ�านวนก�าลังแรงงานที่มีสิทธิได้รับ
แสดงให้เห็นว่าก�าลังแรงงานของประเทศไทยเป็นผู้มีงานท�า การคุ้มครองในระบบประกันสังคมมีจ�านวนเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ทั้งนี้
ในอัตราสูง อีกทั้งยังมีจ�านวนผู้มีงานท�าที่เป็นแรงงานในระบบ รัฐมีมาตรการการด�าเนินการที่จะท�าให้แรงงานนอกระบบเข้ามา
มีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าประเทศไทยมี อยู่ในระบบ โดยมีความก้าวหน้าอย่างมากในช่วง ๒ ปีที่ผ่านมา
จ�านวนแรงงานนอกระบบสูงกว่าจ�านวนแรงงานในระบบ ส่วนเรื่อง ท�าให้แรงงานได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายและมีหลักประกัน
ระบบประกันสังคมเป็นการคุ้มครองสิทธิของแรงงานไทย ซึ่งจาก ทางสังคมมากยิ่งขึ้น แต่ยังคงพบว่า มีแรงงานบางกลุ่มยังไม่ได้รับ
ข้อมูลจากส�านักงานประกันสังคม พบว่า ในปี ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ความคุ้มครองอย่างทั่วถึง ได้แก่ กลุ่มลูกจ้างท�างานบ้าน ลูกจ้าง
มีจ�านวนผู้ประกันตน ตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐ ที่ไปท�างานในต่างประเทศที่มักถูกละเมิดสิทธิจากนายจ้าง
ค่าแรงขั้นต�่า เมื่อปี ๒๕๕๔ รัฐได้แถลงนโยบายให้ผู้ใช้แรงงานมีรายได้วันละไม่น้อยกว่า ๓๐๐ บาท และเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖
ถือเป็นวันแรกที่ “ค่าแรงขั้นต�่า ๓๐๐ บาท” มีผลบังคับใช้ทั่วประเทศ ๗๗ จังหวัด ซึ่งปัจจุบันมีการเรียกร้องจากกลุ่มแรงงานให้ปรับขึ้น
ค่าแรงขั้นต�่าจากวันละ ๓๐๐ บาท เป็น ๓๖๐ บาท และ ๔๒๑ บาทต่อวัน เพื่อให้เพียงพอต่อค่าครองชีพที่สูงขึ้นในปัจจุบัน และเมื่อเปรียบ
เทียบอัตราค่าแรงขั้นต�่าของประเทศกับประชาคมในกลุ่มอาเซียน จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีอัตราค่าแรงขั้นต�่าเฉลี่ยต่อวันเป็นอันดับ ๔ จาก
ประเทศกลุ่มอาเซียน ๑๐ ประเทศ
การรวมตัวและเสรีภาพในการสมาคมด้านแรงงาน ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัวกัน
ประเทศไทยได้เข้าร่วมก่อตั้งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ค.ศ. ๑๙๔๘ และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการ
(ILO) ตั้งแต่ปี ๒๔๖๒ โดยปฏิญญาว่าด้วยหลักการและสิทธิ ร่วมเจรจาต่อรอง ค.ศ. ๑๙๔๙ โดยกระทรวงแรงงานได้เตรียมการ
ขั้นพื้นฐานในการท�างาน (ILO Declaration on Fundamental เพื่อเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาทั้งสองฉบับดังกล่าว และได้เสนอเรื่อง
Principles and Rights at Work) ก�าหนดให้ประเทศสมาชิก ให้รัฐสภาพิจารณาไปแล้ว แต่เนื่องจากได้เกิดการควบคุม
เคารพและปฏิบัติตามสิทธิในการท�างานขั้นพื้นฐานครอบคลุม สถานการณ์ของ คสช. ในปี ๒๕๕๗ ท�าให้เรื่องดังกล่าวถูกระงับไป
๔ ประเด็นหลัก ได้เเก่ (๑) เสรีภาพในการสมาคมและการ ส�าหรับในประเทศไทยพบว่า ในภาครัฐวิสาหกิจมีจ�านวน
รับรองที่มีผลจริงจังส�าหรับสิทธิในการต่อรองร่วม (๒) การขจัด สหภาพแรงงานและสหพันธ์ในรัฐวิสาหกิจ รวม ๔๙ แห่ง ในภาค
การบังคับใช้เเรงงานในทุกรูปแบบ (๓) การยกเลิกการใช้แรงงานเด็ก เอกชนมีสหภาพแรงงาน สหพันธ์แรงงาน สภาองค์การลูกจ้าง
และ (๔) การขจัดการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและประกอบ สมาคมนายจ้าง และสภาองค์การนายจ้าง รวม ๑,๘๔๑ แห่ง
๑๘
อาชีพ ทั้งนี้ ยังมีอนุสัญญาด้านแรงงานที่ประเทศไทยยังมิได้ แต่ในภาคราชการยังไม่มีการจัดตั้งสหภาพหรือสหพันธ์ด้านแรงงาน
๑๙
ให้สัตยาบัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสมาคมและเจรจาต่อรอง ได้แก่ แต่อย่างใด
๒๐
อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ ๘๗
๑๘ ข้อมูลจาก www.unionesso.org/
๑๙ ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบันอนุสัญญาที่เป็นกรอบมาตรฐานแรงงานและเป็นอนุสัญญาพื้นฐาน ๓ ฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ ๘๗ ฉบับที่ ๙๘ และฉบับที่ ๑๑๑
๒๐ ข้อมูลจ�านวนสหภาพ สหพันธ์ และสภาที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงาน ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ของส�านักแรงงานสัมพันธ์ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
17