Page 40 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 40

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



























             การซ้อมทรมาน และการสูญหายโดยถูกบังคับ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทรมานบุคคล โดยที่บางกรณี
             มีการกล่าวอ้างว่าเป็นการกระท�าโดยเจ้าหน้าที่รัฐ ประกอบกับจากการพิจารณาเรื่องร้องเรียน พบว่ามีการกล่าวหาว่าเจ้าหน้าที่
             ทหารและเจ้าหน้าที่ต�ารวจกระท�าทรมานและมีการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่ไร้มนุษยธรรมต่อผู้ต้องสงสัย หรือผู้ต้องขัง
             ในขั้นตอนต่าง ๆ เช่น ขั้นตอนการปิดล้อม ตรวจค้น การจับกุมตัวและการเชิญตัว การควบคุมตัว และการสอบสวน
                         ๘
             หรือการซักถาม และการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง เป็นต้น


              ในด้านการติดตามค้นหาบุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหาย เช่น กรณี  พ.ศ. .... เมื่อวันที่  ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙ แล้วก็ตาม ทั้งนี้
              ของนายพอละจี (บิลลี่) รักจงเจริญ และนายสมชาย นีละไพจิตร    รัฐควรเร่งพิจารณาร่างกฎหมายฉบับดังกล่าว และด�าเนินการ
              ซึ่งสูญหายไปโดยไม่ทราบชะตากรรมและอาจมีความเกี่ยวข้องกับ  ให้มีการบังคับใช้กฎหมาย พร้อมทั้งแก้ไขปรับเปลี่ยนกฎหมาย
              การใช้อ�านาจของเจ้าหน้าที่รัฐนั้น ปัจจุบันยังไม่มีความคืบหน้าที่  หรือแนวทางการปฏิบัติต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอนุสัญญา
              ชัดเจนแต่อย่างใด ซึ่งแม้ว่าประเทศไทยให้สัตยาบันอนุสัญญา   ระหว่างประเทศที่ไทยลงนามหรือเป็นรัฐภาคี  รวมทั้ง
              ระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหาย  การให้ความรู้เรื่องกฎหมายฉบับนี้ต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ
              สาบสูญโดยถูกบังคับ (CED) และมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ   อย่างต่อเนื่องและให้ได้ประสิทธิผลในการป้องกันการทรมาน
              ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย   และการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ




              กรณีโทษประหารชีวิต ในสังคมที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็นสองแนวทางว่า ควรยกเลิกโทษประหารชีวิต หรือยังคงมีโทษ บทที่ ๒ ภาพรวมสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
              ประหารชีวิตนั้น ยังคงไม่มีค�าตอบตายตัวว่าโทษประหารชีวิตจะยังคงมีอยู่หรือถูกยกเลิกไป ทั้งนี้ แม้ว่าประเทศไทยจะมีนักโทษที่ได้รับโทษ
              เด็ดขาดประหารชีวิต โดยในปี ๒๕๕๘ มีจ�านวนนักโทษประหารชีวิตทั้งสิ้น ๘๖ คน เป็นชาย จ�านวน ๘๑ คน และเป็นหญิง จ�านวน ๕ คน
              แต่ในทางปฏิบัตินับตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ เป็นต้นมา ประเทศไทยไม่มีการประหารชีวิตนักโทษแต่อย่างใด แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่สะเทือน
              ขวัญต่อความรู้สึกของประชาชน ความคิดที่ต้องการให้โทษประหารยังคงมีอยู่ และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ในบางกรณีก็มีการรณรงค์
              ให้มีการเพิ่มโทษประหารชีวิตในบางฐานความผิด ๙



              ๘   ๑) ค�าร้องที่ ๑๔/๒๕๕๒ ตามค�าร้องสรุปว่า เมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๒ เจ้าหน้าที่ทหารและต�ารวจ สถานีต�ารวจภูธรหนองจิก ได้ตรวจค้นบ้านหลังหนึ่งในต�าบลโปโละปุโย อ�าเภอ
              หนองจิก จังหวัดปัตตานี และจับกุมผู้เสียหายกับพวกรวมสามคนไปควบคุมและสอบสวนที่ค่ายอิงคยุทธบริหาร จังหวัดปัตตานี เจ้าหน้าที่สอบสวนได้บังคับให้ดื่มน�้าคล้ายน�้ามัน
              ท�าให้เกิดอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลศูนย์ยะลา ต่อมา ถูกสอบสวนอีกครั้ง ตั้งแต่เวลา ๑๗.๐๐ ถึง ๐๓.๐ น. รวมเป็นเวลา ๑๐ ชั่วโมง โดยไม่ได้พัก
                ๒) ค�าร้องที่ ๒๑๔/๒๕๕๓ ตามค�าร้องสรุปว่า เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๓ ผู้เสียหายถูกเจ้าหน้าที่ทหารจับและควบคุมตัวไปไว้ที่ค่ายอิงคยุทธบริหาร ได้ถูกเจ้าหน้าที่ท�าการสอบสวน
              ในห้องที่มีอุณหภูมิเย็น และเจ้าหน้าที่ได้ใช้กระดาษม้วนแล้วฟาดที่ศีรษะ มีรอยฟกช�้าที่บริเวณข้อมือ และถูกเจ้าหน้าที่ข่มขู่ว่าหากไม่รับสารภาพว่าเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ความไม่สงบ
              จะถูกท�าร้ายร่างกาย
                ๓) ค�าร้องที่ ๒๓๖/๒๕๕๘ ตามค�าร้องสรุปว่า ผู้เสียหายซึ่งเป็นผู้ต้องขังคดีระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา ในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด และได้ร้องเรียนต่อ กสม. ผ่านเรือนจ�าซึ่งตนถูกคุมขัง
              เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘ ว่า ก่อนถูกด�าเนินคดี ถูกเจ้าหน้าที่ต�ารวจจับกุมตัวในที่สาธารณะ และถูกน�าตัวไปยังสถานที่แห่งหนึ่งและถูกซ้อมทรมานร่างกาย โดยการใช้เครื่องช็อตไฟฟ้า
              ตามร่างกาย ใช้ถุงด�าคลุมศีรษะและรัดที่ล�าคอเพื่อให้ผู้เสียหายขาดอากาศหายใจ รวมทั้งถูกบังคับข่มขู่ให้ผู้เสียหายท�าแผนประกอบค�ารับสารภาพในความผิดที่ถูกจับกุม
                ๔) ค�าร้องที่ ๔๖๑/๒๕๕๘ ตามค�าร้องสรุปว่า เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ผู้เสียหายถูกเจ้าหน้าที่ต�ารวจจับกุมตัวเพื่อด�าเนินคดีเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งในการจับกุมผู้เสียหายไม่ได้ขัดขืน
              แต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ชุดจับกุมได้น�าตัวผู้เสียหายไปยังที่ท�าการ และร่วมกันท�าร้ายร่างกายผู้เสียหายด้วยการเตะบริเวณล�าตัวหลายครั้ง และใช้ไฟฟ้าช็อตตามร่างกาย
              ๙    ดูรายละเอียดได้ที่ <http://women.kapook.com/view92695.html> (เข้าดู ณ วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙)
                                                                                                           10
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45