Page 41 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 41

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



        กสม. ได้จัดท�ารายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบาย   โทษประหารชีวิต อย่างไรก็ดี ถ้าสังคมไทยยังมีแนวความคิดว่า
        หรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย เรื่อง โทษประหารชีวิตและ  โทษประหารชีวิตเป็นการป้องปรามไม่ให้เกิดการกระท�าความผิด
        หลักสิทธิมนุษยชน ต่อคณะรัฐมนตรี กระทรวงยุติธรรม กระทรวง  และท�าให้ผู้กระท�าความผิดได้รับโทษสาสมกับการกระท�า
        สาธารณสุข และส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ และต่อมากระทรวง  ในลักษณะของการแก้แค้นทดแทน เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่สะเทือน
        ยุติธรรมได้พิจารณาข้อเสนอแนะและมีความเห็นว่าควรด�าเนินการ  ขวัญต่อความรู้สึกของประชาชน ดังเช่น กรณีคดีการข่มขืนและ
        ใน ๓ ด้าน คือ (๑) การศึกษาวิจัย (๒) การจัดท�าประชามติ และ (๓)   ฆาตกรรมเด็กหญิงบนขบวนรถไฟสายนครศรีธรรมราช - กรุงเทพฯ
        การเตรียมความพร้อม การพัฒนามาตรการทดแทน และมาตรการ   ในปี ๒๕๕๗ ความคิดที่ให้คงบทลงโทษประหารชีวิตก็จะยังคงมีอยู่
        ทางเลือกในการลงโทษ เพื่อเตรียมความพร้อมในการยกเลิก   ในสังคมไทยต่อไป





        เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การแสดงความเห็นและการแสดงออกในด้านการเมือง ผ่านสื่อต่าง ๆ ตลอดจนรูปแบบของการชุมนุม
        ทางการเมืองที่หลายครั้งน�าไปสู่ความรุนแรงในสังคม หลายกรณีเกิดการละเมิดสิทธิในด้านอื่น ๆ เช่น การใช้ถ้อยค�าที่สร้างความเกลียดชัง
        (hate speech) การกระทบต่อสิทธิในชีวิตและร่างกาย สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร สิทธิในการชุมนุมโดยสงบ
        และสันติ ฯลฯ ทั้งต่อประชาชนทั่วไป ต่อผู้ชุมนุม และต่อเจ้าหน้าที่รัฐ ส่งผลให้รัฐมีการด�าเนินการบังคับใช้กฎหมายที่จ�ากัดสิทธิและเสรีภาพ
        ในการแสดงความเห็นทางการเมืองอย่างเข้มข้น โดยที่หลายกรณีพบว่าเป็นการบังคับใช้กฎหมายในลักษณะป้องปรามก่อนที่จะมีการกระท�าผิด
        นอกจากนี้ การจ�ากัดเสรีภาพในการแสดงความเห็นและการแสดงออกยังกระทบไปถึงการแสดงออกของบุคคลและชุมชนที่ได้รับความเดือดร้อน
        จากนโยบาย มาตรการและโครงการต่าง  ๆ ทั้งของรัฐและของเอกชน ที่บางกรณีถูกห้ามมิให้มีการจัดประชุม  เช่น การห้ามการประชุม
        ของชาวบ้านเรื่องที่ดิน เเละการห้ามการประชุม เรื่อง “ผลกระทบจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ต่อชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติในเขตพะลึน” เป็นต้น
        แต่ในบางกรณี ยังมีการชุมนุมของบางกลุ่มเกิดขึ้นได้บ้าง อาทิ การชุมนุมของกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มชาวประมงหลังมีมาตรการ
        ห้ามเรือท�าประมงผิดกฎหมาย เป็นต้น



        กสม.  มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับร่างกฎหมายพระราชบัญญัติ   เรียบร้อยของสาธารณะ (Ordre public) หรือด้วยเหตุแห่ง
        การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... ว่า ไม่ควรใช้กฎหมายพิเศษด้าน  สาธารณสุขและศีลธรรม นั้น รัฐจ�าเป็นต้องด�าเนินการด้วย
        ความมั่นคงควบคู่กับกฎหมายชุมนุมสาธารณะ ไม่ควรแปลความ  ความระมัดระวังอย่างยิ่ง และจ�าเป็นต่อวัตถุประสงค์อันชอบธรรม
        บทบัญญัติแห่งร่างพระราชบัญญัติฯ จนไม่อาจชุมนุมสาธารณะ  การจ�ากัดสิทธิด้วยเหตุดังกล่าวต้องเป็นไปตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
        ได้ และควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่อ�านวยความ  (strict requirements) ได้สัดส่วน มีความจ�าเพาะของกรณี
        สะดวกและจัดสถานที่ชุมนุมสาธารณะ ทั้งนี้ การก�าหนดให้การ  ที่จะส่งผลกระทบต่อเหตุเช่นว่า (in specific and individualized
        ชุมนุมสาธารณะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน ไม่สอดคล้อง  fashion the precise nature of the threat) มีความเชื่อมโยง
        กับหลักการตามกติกา ICCPR และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร  โดยตรงและส่งผลชัดเจนจากการใช้สิทธินั้น (a direct and
        ไทย ประกอบกับคณะกรรมการประจ�ากติกา ICCPR ให้ความส�าคัญ   immediate connection between the expression and
        ต่อเสรีภาพในการแสดงความเห็นและการแสดงออกว่ามีความ    the threat) และต้องมั่นใจว่าไม่เป็นการจ�ากัดข้อมูลสู่สาธารณะ
        จ�าเป็นต่อความโปร่งใสและการตรวจสอบได้ของรัฐ และจ�าเป็นต่อ  ของสื่อ นักวิชาการ นักสิ่งแวดล้อม หรือนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
        การประกันสิทธิต่าง ๆ ในกติการะหว่างประเทศ และได้วางแนวทาง  ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ของสาธารณะอย่างชอบธรรม
        การรอนสิทธิในเสรีภาพในการแสดงความเห็นและการแสดงออกว่า
        การรอนสิทธิด้วยเหตุแห่งความมั่นคงของชาติหรือความสงบ

















         11
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46